เนื้อหาปกติ : การชักจูงโน้มน้าว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทเรียนโปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g เหตุผลวิบัติ ( fallacies )
ปัญหาในการสั่งงาน 1. ตัวเราเอง/หัวหน้าไม่กล้า, เกรงใจ, กลัว ต้องเชื่อมั่นตนเอง 2. ไม่รู้ขั้นตอนสั่งงานที่ดี จับประเด็นไม่ได้
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 5.
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 8.
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน. คำอธิบายก่อนทำแบบ ประเมิน ให้นักศึกษาทําแบบ ประเมินตนเอง ในส่วน ถัดไปทั้ง 10 ข้อ ให้เสร็จ สิ้นเสียก่อน โดยใช้
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินหลังเรียน Part 6.
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 5.
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน [ ขงจื้ อ เต๋า พุทธ - เซน เถร วา ท ]
บทที่ 6 การจัดการกับความเครียด
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 14.
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินหลังเรียน. คำอธิบายก่อนทำแบบ ประเมิน ให้นักศึกษาทําแบบ ประเมินตนเอง ในส่วน ถัดไปทั้ง 10 ข้อ ให้เสร็จ สิ้นเสียก่อน โดยใช้
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 11.
เนื้อหาพิเศษ :การชักจูงโน้มน้าว
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 13.
บทที่ 7 พฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 12.
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 13.
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 12.
สุขภาพจิต และการปรับตัว
บทนำ บทที่ 1.
ลูกใครวะ.
การพัฒนาตนเองในด้านความคิดสร้างสรรค์
การรับทราบผลประเมินสมรรถนะและแนวทางการพัฒนา
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ข้อคิดการใช้ชีวิต บรู๊ซลี.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เว็บเพจ (Web Page).
สรุปการบรรยายของวันที่ 25 กุมภาพันธ์ Evaluation of Global Health การสืบค้นองค์กรนานาชาติว่ามีองค์กรใดบ้างที่ให้ การสนับสนุนในด้านสุขภาพ เช่น 0.7.
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
รายงานผลการวิจัย.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ข้อคิดการใช้ชีวิต บรู๊ซลี.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เนื้อหาปกติ : การชักจูงโน้มน้าว 1 3 - Part 8 เนื้อหาปกติ : การชักจูงโน้มน้าว

คำอธิบายก่อนเรียน คำอธิบายก่อนเรียน ในบทเรียนแต่ละบท ก่อนเรียน ขอให้นักศึกษาทำแบบประเมินตนเองให้เสร็จสิ้นเสียก่อน 2. ลองทำ โดยพิจารณาคำตอบด้วยตนเอง ก่อนที่จะทำแบบทดสอบอื่นๆ ต่อไป

บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 บทนำ คุณโน้มน้าว เพื่อประโยชน์สร้างสรรค์ได้ มากเพียงใด .. ?

บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 บทนำ (2) อยากให้บุคคลในความดูแล(ลูกน้อง)-คนชอบ-คนรัก - เชื่อฟัง บ้างไหม !

บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 บทนำ (3) ทักษะการจูงใจเป็นทักษะที่ใช้โน้มน้าวใจเพื่อให้บุคคลรอบข้างเกิดการคล้อยตาม ยอมรับด้วยความเต็มใจ ความสามารถดังกล่าวนี้จำเป็นต้องมีความสามารถพื้นฐานในด้านการใช้ภาษา โดยเฉพาะภาษาประจำชาติเพื่อช่วยในการติดต่อสื่อสารได้อย่างสมเหตุผลและทำให้ผู้ถูกชักจูงเกิดความซาบซึ้งกินใจ ทางด้านอารมณ์ (ถ้าจะให้ดีต้องเน้น feeling มากกว่า emotion แต่โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นการเร้าทางด้าน emotion มากกว่า) อีกด้วย โดยเฉพาะอาชีพที่ต้องเกี่ยวข้องกับผู้คนจำนวนมาก เช่น อาชีพนักการเมือง นักการฑูต เป็นต้น จำเป็นต้องมีทักษะทางด้านนี้เป็นอย่างสูง

บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 ความหมาย การจูงใจ เป็นเทคนิควิธีทำให้คนอื่นทำตามที่ผู้ชักจูงต้องการ แต่ให้อิสระเขา การสั่งโดยใช้อำนาจ =ไม่ให้อิสระ จึงไม่ค่อยมีผลได้ดังใจ

บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 การชักจูงโน้มน้าว กับ การใช้อำนาจสั่งการ การชักจูง ถือหลักเสรีภาพในการทำงานร่วมกัน โดยมุ่งให้ผู้ถูกจูงใจกระทำตามที่ผู้จูงใจต้องการ โดยให้อิสระผู้ถูกจูงใจเลือกเฟ้นแนวทางปฏิบัติภายใต้หลักการที่ผู้ถูกจูงใจได้ให้การยอมรับแล้วและอยู่ในขอบข่ายที่ผู้จูงใจได้ชี้นำไว้อีกด้วย แนวทางนี้มักจะนำมาใช้ได้ดีในหน่วยงานทั่วไป การใช้อำนาจสั่งการ ถือหลักการใช้อำนาจเบ็ดเสร็จ โดยผู้ถูกสั่งการจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนตามแผนการของผู้มีอำนาจสั่งการจึงมักจะพบว่ามีอุปสรรคอยู่มากในการประสานงานร่วมกันระหว่างผู้ทำงานระดับเดียวกันทั้งในและนอกหน่วยงาน รวมทั้งการใช้อำนาจ สั่งการให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานนอกเหนือไปจากหน้าที่ประจำก็ยังเป็นไปได้ยากอีกด้วย

บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 กลวิธีชักจูง (Persuasion Strategies) ความน่าเชื่อถือ (credibility) มีภาพพจน์ที่ดี (วางตัวได้อย่างเหมาะสม) ไม่ดูหลุกหลิกหรือลอกแลก แสดงจุดยืนที่ชัดเจนและ ซื่อตรง ไม่โลเล ไม่เหยียบเรือสองแคม มีจรรยา ปฏิบัติตามกฎหมาย กระตือรือร้น ขยันหมั่นเพียร กระทำอย่างแข็งขันจริงจัง ไม่ดีแต่พูด มีมุมมองชีวิตในแง่สร้างสรรค์ และเป็นไปได้จริง ไม่มองโลกในแง่ร้ายหรือเพ้อฝันมากจนเกินไป เอาใจเขามาใส่ใจเรา (empathy)

บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 กลวิธีชักจูง (Persuasion Strategies) -------> (2) 2. การชักจูงโดยใช้เหตุผล (reasoning) ตระเตรียมเหตุผลต่าง ๆ มาสนับสนุนแผนการชักจูง นำเสนอต่อผู้ถูกชักจูงได้อย่างกระชับ และหาข้อมูล /ภูมิหลังต่าง ๆ เกี่ยวกับ ผู้ถูกชักจูง / กลุ่มเป้าหมาย อาทิ เป้าหมาย, ความต้องการ, ความสนใจของผู้ถูกชักจูง

บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 กลวิธีชักจูง (Persuasion Strategies) -------> (3) 3. การชักจูงโดยเร้าอารมณ์ (emotion appeal) ลีลาการใช้ภาษาที่เข้ามาประกอบเหตุผลเพื่อช่วยทำให้เข้าถึงรสนิยมและอารมณ์ต่าง ๆ ของผู้ถูกชักจูง ไม่ว่าจะเป็นการดึงดูดใจ ความกลัว ความรัก ความสนุกสนาน ความคับข้องใจ และเกิดการคล้อยตามในที่สุด

บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 สรุปกลยุทธการชักจูง สำหรับการฝึกฝนให้ชำนาญเป็นพิเศษ

สิ้นสุดสาระการเรียนรู้ 06/11/51 06/11/51 กลับสู่หน้าหลัก Click ขอบคุณค่ะ