เนื้อหาปกติ : การชักจูงโน้มน้าว 1 3 - Part 8 เนื้อหาปกติ : การชักจูงโน้มน้าว
คำอธิบายก่อนเรียน คำอธิบายก่อนเรียน ในบทเรียนแต่ละบท ก่อนเรียน ขอให้นักศึกษาทำแบบประเมินตนเองให้เสร็จสิ้นเสียก่อน 2. ลองทำ โดยพิจารณาคำตอบด้วยตนเอง ก่อนที่จะทำแบบทดสอบอื่นๆ ต่อไป
บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 บทนำ คุณโน้มน้าว เพื่อประโยชน์สร้างสรรค์ได้ มากเพียงใด .. ?
บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 บทนำ (2) อยากให้บุคคลในความดูแล(ลูกน้อง)-คนชอบ-คนรัก - เชื่อฟัง บ้างไหม !
บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 บทนำ (3) ทักษะการจูงใจเป็นทักษะที่ใช้โน้มน้าวใจเพื่อให้บุคคลรอบข้างเกิดการคล้อยตาม ยอมรับด้วยความเต็มใจ ความสามารถดังกล่าวนี้จำเป็นต้องมีความสามารถพื้นฐานในด้านการใช้ภาษา โดยเฉพาะภาษาประจำชาติเพื่อช่วยในการติดต่อสื่อสารได้อย่างสมเหตุผลและทำให้ผู้ถูกชักจูงเกิดความซาบซึ้งกินใจ ทางด้านอารมณ์ (ถ้าจะให้ดีต้องเน้น feeling มากกว่า emotion แต่โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นการเร้าทางด้าน emotion มากกว่า) อีกด้วย โดยเฉพาะอาชีพที่ต้องเกี่ยวข้องกับผู้คนจำนวนมาก เช่น อาชีพนักการเมือง นักการฑูต เป็นต้น จำเป็นต้องมีทักษะทางด้านนี้เป็นอย่างสูง
บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 ความหมาย การจูงใจ เป็นเทคนิควิธีทำให้คนอื่นทำตามที่ผู้ชักจูงต้องการ แต่ให้อิสระเขา การสั่งโดยใช้อำนาจ =ไม่ให้อิสระ จึงไม่ค่อยมีผลได้ดังใจ
บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 การชักจูงโน้มน้าว กับ การใช้อำนาจสั่งการ การชักจูง ถือหลักเสรีภาพในการทำงานร่วมกัน โดยมุ่งให้ผู้ถูกจูงใจกระทำตามที่ผู้จูงใจต้องการ โดยให้อิสระผู้ถูกจูงใจเลือกเฟ้นแนวทางปฏิบัติภายใต้หลักการที่ผู้ถูกจูงใจได้ให้การยอมรับแล้วและอยู่ในขอบข่ายที่ผู้จูงใจได้ชี้นำไว้อีกด้วย แนวทางนี้มักจะนำมาใช้ได้ดีในหน่วยงานทั่วไป การใช้อำนาจสั่งการ ถือหลักการใช้อำนาจเบ็ดเสร็จ โดยผู้ถูกสั่งการจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนตามแผนการของผู้มีอำนาจสั่งการจึงมักจะพบว่ามีอุปสรรคอยู่มากในการประสานงานร่วมกันระหว่างผู้ทำงานระดับเดียวกันทั้งในและนอกหน่วยงาน รวมทั้งการใช้อำนาจ สั่งการให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานนอกเหนือไปจากหน้าที่ประจำก็ยังเป็นไปได้ยากอีกด้วย
บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 กลวิธีชักจูง (Persuasion Strategies) ความน่าเชื่อถือ (credibility) มีภาพพจน์ที่ดี (วางตัวได้อย่างเหมาะสม) ไม่ดูหลุกหลิกหรือลอกแลก แสดงจุดยืนที่ชัดเจนและ ซื่อตรง ไม่โลเล ไม่เหยียบเรือสองแคม มีจรรยา ปฏิบัติตามกฎหมาย กระตือรือร้น ขยันหมั่นเพียร กระทำอย่างแข็งขันจริงจัง ไม่ดีแต่พูด มีมุมมองชีวิตในแง่สร้างสรรค์ และเป็นไปได้จริง ไม่มองโลกในแง่ร้ายหรือเพ้อฝันมากจนเกินไป เอาใจเขามาใส่ใจเรา (empathy)
บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 กลวิธีชักจูง (Persuasion Strategies) -------> (2) 2. การชักจูงโดยใช้เหตุผล (reasoning) ตระเตรียมเหตุผลต่าง ๆ มาสนับสนุนแผนการชักจูง นำเสนอต่อผู้ถูกชักจูงได้อย่างกระชับ และหาข้อมูล /ภูมิหลังต่าง ๆ เกี่ยวกับ ผู้ถูกชักจูง / กลุ่มเป้าหมาย อาทิ เป้าหมาย, ความต้องการ, ความสนใจของผู้ถูกชักจูง
บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 กลวิธีชักจูง (Persuasion Strategies) -------> (3) 3. การชักจูงโดยเร้าอารมณ์ (emotion appeal) ลีลาการใช้ภาษาที่เข้ามาประกอบเหตุผลเพื่อช่วยทำให้เข้าถึงรสนิยมและอารมณ์ต่าง ๆ ของผู้ถูกชักจูง ไม่ว่าจะเป็นการดึงดูดใจ ความกลัว ความรัก ความสนุกสนาน ความคับข้องใจ และเกิดการคล้อยตามในที่สุด
บทที่ 8 การชักจูงโน้มน้าว 06/11/51 06/11/51 06/11/51 สรุปกลยุทธการชักจูง สำหรับการฝึกฝนให้ชำนาญเป็นพิเศษ
สิ้นสุดสาระการเรียนรู้ 06/11/51 06/11/51 กลับสู่หน้าหลัก Click ขอบคุณค่ะ