Multiple Intelligence ดร.รังสรรค์ โฉมยา (คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)
“โลกมีไว้เหยียบ ไม่ใช่มีไว้แบก” นิรนาม “สิ่งใดที่ฉันไม่มี ฉันไม่ต้องการ” ซีนีแอด โอ คอนเนอร์
Howard Gardner เสนอว่าคนจะฉลาดจะต้องประกอบด้วยเชาว์ปัญญา 8 ประการ คือ พหุปัญญา Howard Gardner เสนอว่าคนจะฉลาดจะต้องประกอบด้วยเชาว์ปัญญา 8 ประการ คือ 1.การใช้ภาษา (Verbal/Linguistic) การอ่าน การพูด การฟัง 2.การใช้เหตุผลและการคำนวณ (Logical/Mathematical) การทำงานด้านตัวเลข การคำนวณ การคิดเชิงปริมาณ การคิดแบบนามธรรม
3.การรับรู้เกี่ยวกับภาพ (Visual/Spatial) การสร้างภาพ การแปลความหมายรูปภาพ การสร้างแผนผังแนวคิด กรอบความคิด การจินตนาการ การเขียนภาพ 4.ความสามารถด้านการเล่นดนตรี (Musical/Rhythmic) การใช้จังหวะ ทำนอง การเล่นดนตรี ร้องเพลง เต้นรำ 5.การเคลื่อนไหวทางด้านร่างกาย (Bodily/Kinesthetic) การรับรู้ผ่านทางประสาทสัมผัส การเคลื่อนที่ไปมา การเล่นกีฬา
6.ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น (Interpersonal) ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆ การทำงาน ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ความรู้สึกร่วม 7.ความเข้าใจในความรู้สึกของตนเอง (Intrapersonal) การทำงานคนเดียว การเรียนรู้ตามความสามารถของตน การรับรู้เกี่ยวกับตนเอง การสร้างโครงงานด้วยตนเอง 8.ความเข้าใจในธรรมชาติ (Naturalist) การใช้เวลานอกสถานที่ การจัดกลุ่ม การสังเกต การแบ่งประเภทสิ่งที่พบ
สังเกตว่านักเรียนมีเชาว์ปัญญาแบบใด พหุปัญญากับผู้สอน สังเกตว่านักเรียนมีเชาว์ปัญญาแบบใด จัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้นักเรียนได้ไช้เชาว์ปัญญา ไม่ควรเน้นการใช้ภาษาและเหตุผลเพียงอย่างเดียวในการสอน ต้องจัดการสอนอย่างหลากหลาย ติดตามเก็บข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน เพื่อหาจุดแข็ง จุดอ่อน กำหนดเป้าหมายที่จะพัฒนานักเรียน สอนและพัฒนานักเรียนใหัครอบคลุมพหุปัญญาทั้ง 8 ด้าน
ทางเลือกที่จะจัดการเรียนการสอนมีมากแบบ ควรจัดให้หลากหลาย สิ่งสำคัญ ผู้สอนคุ้นเคยกับแบบการสอนและพหุปัญญามาก จะสามารถจัดการเรียนรู้ได้ตรงกับลักษณะนักเรียนมาก ผู้สอนอาจจะไม่ชอบวิธีการสอนบางอย่าง แต่เป็นความจำเป็นและความต้องการของนักเรียน ทางเลือกที่จะจัดการเรียนการสอนมีมากแบบ ควรจัดให้หลากหลาย ผู้สอนต้องเก็บข้อมูลนักเรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนา นักเรียนจะรู้สึกท้าทายและมั่นใจมากขึ้นเมื่อได้รับการสอนหลากหลายแบบ
ผู้สอนต้องยอมรับว่านักเรียนมีเชาว์ปัญญา และแบบการเรียนแตกต่างกัน การเรียนรู้บางอย่างอาจจะไม่เหมาะกับนักเรียนบางคน ผู้สอนต้องรู้จักนักเรียนให้มากที่สุด วางแผนการสอนให้ครอบคลุมแบบการเรียน เชาว์ปัญญาและความชอบของนักเรียน ผู้สอนต้องเรียนรู้ที่จะเปลี่ยนและพัฒนาตนเองในการสอนแบบหลากหลาย
ทางเลือกการจัดการสอน
การอ่าน การสะกดคำ การเขียน การฟัง การเล่าเรื่อง การทบทวนความจำ การใช้ภาษา การอ่าน การสะกดคำ การเขียน การฟัง การเล่าเรื่อง การทบทวนความจำ การใช้ภาษา การพูด การอภิปราย การบรรยายลักษณะ การใช้ตัวช่วยจำ การเชื่อมโยงความจำ
การใช้เหตุผลและการคำนวณ การใช้ตัวเลขและจำนวน การตีความเชิงปริมาณ การคำนวณ การพิสูจน์ ตรรกศาสตร์ การแปลความข้อมูล การใช้สถิติ การสร้างรูปแบบ การเขียนแผนภูมิ การจัดลำดับความสำคัญ การสร้างสิ่งช่วยจำ การวิเคราะห์ การคิดเชิงนามธรรม การคิดแบบวิเคราะห์ สมการและการแก้
การรับรู้เกี่ยวกับภาพ การอ่านภาพ แผนภูมิ การศึกษาภาพ การสร้างภาพ การวาดภาพ การสร้างแผนภูมิ การออกแบบ การทำโปสเตอร์ การสร้างผังความคิด ออร์แกนไนเซอร์ วีดีทัศน์ การกำหนดรหัสสี การสร้างจุดเน้น การแปลภาพ การใช้สี
การทำเสียง สร้างเสียง การใช้เสียง การพึมพำ การบอกชนิดของเสียง ความสามารถด้านดนตรี การร้องเพลง การเคาะจังหวะ การเต้น การวางท่าทาง การเชียร์ การทำเสียง สร้างเสียง การใช้เสียง การพึมพำ การบอกชนิดของเสียง การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ การฟังเสียง การแต่งเพลง การเล่นดนตรี การแยกแยะเสียง
การเคลื่อนไหวทางด้านร่างกาย การเล่นบทบาทสมมุติ การเดิน วิ่ง จังหวะ การเต้นรำ ระบำ การร้องเพลงคลอการเคลื่อนไหว การเดินรอบ การแสดงท่าทาง (เช่น เก้าอี้ดนตรี) การสร้างสิ่งของ การคำนวณจังหวะ ภาษาสัญญลักษณ์และการเคลื่อนไหว การเล่นกีฬา การจัดศูนย์กิจกรรม กิจกรรมเข้าจังหวะ การใช้ภาษาท่าทาง
ความสัมพันธ์กับผู้อื่น การคิดเดี่ยว จับคู่คิด และการคิดแบบกลุ่ม การต่อภาพ จิ๊กซอร์ การจับกลุ่มร่วมมือ การเล่นละคร การโต้วาที การพบชั้น บทบาทสมมุติ กิจกรรมใจประสานใจ เพื่อนแนะนำเพื่อน การติวเพื่อน การแลกกันอ่านไดอารี่ หรือบันทึก การใช้ Feed Back การสื่อสารในกลุ่ม
การแก้ปัญหาด้วยตนเอง การเข้าใจตนเอง การเขียนบันทึกประจำวัน ไดอารี่ การรู้คิด การพูดกับตนเอง การให้กำลังใจตนเอง การแก้ปัญหาด้วยตนเอง การเข้าใจตนเอง การเขียนบันทึกประจำวัน ไดอารี่ การสังเกตตนเอง การพัฒนาตนเอง การซ้อมพูด การนำเสนอด้วยการพูด การใช้ความรู้เดิม การฝึกการเชื่อมโยง การรู้จักการเป็นเจ้าของ (ตนเอง คนอื่น)
การติดป้ายเรื่องต่างๆ การแบ่งประเภท การจัดกลุ่ม การระบุชนิดของสิ่งใดๆ ความเข้าใจธรรมชาติ การติดป้ายเรื่องต่างๆ การแบ่งประเภท การจัดกลุ่ม การระบุชนิดของสิ่งใดๆ การตั้งสมมุติฐาน การทำการทดลอง การปรับปรุงสิ่งเดิมให้ดีขึ้น การสร้างสิ่งของจากวัสดุ การแยกชนิด การสำรวจ การศึกษาธรรมชาติ การวิเคราะห์รูปแบบของสิ่งใดๆ
Dr.Rungson Chomeya Contact Me Education Psychology Department Faculty of Education, Mahasarakham University Mahasarakham Province 44000 Tel.0 4374 3143 # 116 Fax.0 4372 1764 Mobile.0 1263 6980 rungson.c@msu.ac.th http://edu.msu.ac.th/edunew/M_psychology/rungson/