ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายด้านบริหาร.
ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
สรุปภารกิจของฝ่ายสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ. ดร. พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย.
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ แผนงานปี 2557 สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ แผนงานปี 2557.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน

พันธกิจ วิจัยและสร้าง องค์ความรู้ด้านสาธารณสุข มูลฐาน และสุขภาพชุมชน องค์ความรู้ด้านสาธารณสุข มูลฐาน และสุขภาพชุมชน ผลิตบัณฑิต ให้เป็นผู้นำ ด้านการจัดการสาธารณสุข มูลฐาน และสุขภาพชุมชน พัฒนาศักยภาพบุคลากร ให้เป็นผู้นำการพัฒนาสาธารณสุข มูลฐานและสุขภาพชุมชน บริการวิชาการสู่สังคมและขับเคลื่อนนโยบายด้านสาธารณสุข มูลฐานและสุขภาพชุมชน พัฒนาเครือข่าย ความร่วมมือด้านสาธารณสุข มูลฐานและสุขภาพชุมชนในระดับประเทศ และระดับภูมิภาคอาเซียน

วิสัยทัศน์ เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ที่ชี้นำการพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน และสุขภาพชุมชน ในระดับประเทศ และระดับภูมิภาคอาเซียน

วิจัย ไทย สาธารณสุขมูลฐาน บริการวิชาการ สุขภาพชุมชน ระบบสุขภาพ อาเซียน ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร เครือข่ายเรียนรู้ วิจัย บริการวิชาการ การศึกษา ไทย อาเซียน

ยุทธศาสตร์ 1. ยกระดับงานวิจัยด้านสาธารณสุขมูลฐานและสุขภาพชุมชนที่เชื่อมโยงกับวาระสุขภาพแห่งชาติ 2. ขยายการผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้นำและเป็นฐานการสร้างความรู้ด้านสาธารณสุขมูลฐานและสุขภาพชุมชน 3. พัฒนากระบวนการเสริมศักยภาพบุคลากรให้เป็นฐานจัดการความรู้และขับเคลื่อนนโยบายด้านสาธารณสุขมูลฐาน และสุขภาพชุมชน 4. พัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสารเพื่อสนับสนุนและการเรียนรู้ด้านสาธารณสุขมูลฐานและสุขภาพชุมชนอย่างต่อเนื่อง 5. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรระดับประเทศและระดับภูมิภาค 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการภายใน ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

บริการวิชาการ ทำให้เด่นชัด มีเอกลักษณ์ ในด้านเนื้อหา และกระบวนการ สาธารณสุขมูลฐาน ระบบบริการสุขภาพในชุมชน : เบาหวาน ผู้สูงอายุ ท้องถิ่น ระบบริการสุขภาพระดับอำเภอ การจัดการความรู้ เพื่อการพัฒนาปฐมภูมิ เพื่อพัฒนาชุมชน เชื่อมโยงกับงานวิจัย ปรับให้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการศึกษา

วิจัย เพิ่มสมรรถนะการวิจัย ให้เป็นมืออาชีพ เชื่อมกับงานประจำ เพิ่มสมรรถนะการวิจัย ให้เป็นมืออาชีพ เชื่อมกับงานประจำ ยกระดับงานวิจัย ให้เป็นแผนงานวิจัยบูรณาการ แผนงานวิจัยระบบดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ / รพ.สต เชื่อมโยงประเด็นกับวาระของชาติ และภูมิภาคอาเซียน ระบบบริการสาธารณสุข, WHO, international agencies เชื่อม ประสานกับการฝึกอบรม การบริการวิชาการ เพื่อขยายความรู้ เชื่อมกับการศึกษาตาม หลักสูตร ( MPHM research based)

การศึกษา พัฒนาคุณภาพการศึกษา เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ปรับรูปแบบการเรียนรู้ สำหรับกลุ่มผู้นำเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เชื่อมกับการพัฒนาระดับอำเภอ (district health system) การจัดการเรียนรู้ทางไกล (distant learning, E-curriculum) การเรียนในระหว่างปฎิบัติงาน และเน้นการทำวิจัย (research based)

ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร เครือข่ายเรียนรู้ พัฒนาระบบ intranet, internet, website พัฒนาศูนย์ข้อมูลด้านสาธารณสุขมูลฐาน ผ่านทาง web พัฒนาเครือข่ายศิษย์เก่าไทย และต่างประเทศ สร้างเครือข่ายร่วมมือกับองค์กรในประเทศ ต่างประเทศ กสธ. สวรส สปสช มหาวิทยาลัยอื่น WHO, UNFPA, JICA, Deakin U. พัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อการใช้งานร่วมกัน

พัฒนาองค์กรภายใน เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมจากหลายระดับ ทำงานร่วมกันเป็นทีม เป็นกลุ่ม พัฒนายุทธศาสตร์ สร้างจุดเด่น จุดยืนขององค์กร และทำงานตามกลยุทธ์ เพื่อให้มีทิศทางการพัฒนาร่วมกัน ปรับโครงสร้างภายใน ให้สอดคล้องกับภาระกิจ สร้างเครือข่ายการทำงานร่วมกันทั้งภายใน และภายนอก พัฒนาระบบการบริหาร และการพัฒนาบุคลากร

โครงสร้าง

โครงสร้างการบริหารจัดการ งานนโยบาย เครือข่ายความร่วมมือ และพัฒนาทรัพยากรบุคคล ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ ผศ.ดร.เนตร หงษ์ไกรเลิศ งานบริหารทั่วไป งานเทคโนโลยี และสื่อสารการเรียนรู้ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ อรวรรณ ขวัญศรี งานเครือข่ายความร่วมมือ งานบริการสถานที่ และอาหาร ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ดร.บังอร เทพเทียน งานวิจัย งานบริการวิชาการ อ.ดร.จุฑาธิป ศีลบุตร งานการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับงานวิจัยด้านสาธารณสุขมูลฐานและ สุขภาพชุมชน ที่เชื่อมโยงกับวาระสุขภาพแห่งชาติ 2553 2554 งานวิจัยบูรณาการ 5 เรื่อง งานวิจัยชี้นำนโยบาย 6 เรื่อง งานวิจัย R2R 5 เรื่อง ผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ 4 เรื่อง ผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ 5 เรื่อง ต่อเนื่องงานวิจัยบูรณาการ เครือข่ายงานวิจัย งานวิจัยในต่างประเทศ งานวิจัยชุมชน R2R พัฒนานโยบายจากงานวิจัย ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ 1:1

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ขยายการผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้นำและเป็นฐานการสร้างความรู้ด้านสาธารณสุขมูลฐานและสุขภาพชุมชน 2553 2554 ปริญญาโท 2 หลักสูตร การบริหารสาธารณสุขมูลฐาน ปรับวิธีการสอน วิทยาการเสพติด ปรับการจัดการ เพิ่ม track ใหม่ พัฒนาเครือข่ายศิษย์เก่า ปรับกระบวนการสอนในหลักสูตรเดิม ขยายจำนวนการผลิต เปิด track ใหม่ Research Based Distance Learning

ยุทธศาสตร์ที่ 3 2553 2554 พัฒนากระบวนการเสริมศักยภาพบุคลากร ให้เป็นฐานจัดการความรู้และขับเคลื่อนนโยบาย ด้านสาธารณสุขมูลฐาน และสุขภาพชุมชน 2553 2554 จัดฝึกอบรมหลักสูตรนานาชาติ 11 ครั้ง หลักสูตรไทย 11 ครั้ง เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับสุขภาพชุมชน เช่น รพสต. KM-CUP ผู้สูงอายุ Tailor made 2 หลักสูตร พัฒนารูปแบบ / เนื้อหาหลักสูตรชัดเจนไทย – นานาชาติ ขยายหลักสูตรการอบรม ชุดความรู้ / เอกสารวิชาการที่ได้จากการอบรม ขยายหลักสูตรใหม่เกี่ยวกับ จิตวิทยา ครอบครัว ยาเสพติด

ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสารเพื่อสนับสนุนและการเรียนรู้ด้านสาธารณสุขมูลฐาน และสุขภาพชุมชนอย่างต่อเนื่อง 2553 2554 Intranet Internet / Web sites ระบบฐานข้อมูล Alumni วิทยากร งานวิจัย สื่อ บทความ หนังสือ Web sites more interactive Resource Center for PHC/ CH เชื่อมโยงสื่อต่างๆ ที่มี

พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรระดับประเทศและระดับภูมิภาค ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรระดับประเทศและระดับภูมิภาค 2553 2554 ประสาน จัดฐานข้อมูล สร้างความร่วมมือ ด้านการศึกษา ด้านการวิจัย ด้านบริการวิชาการ Alumni network ด้านการวิจัยร่วมกัน ภายในมหาวิทยาลัย ภายนอกมหาวิทยาลัย ต่างประเทศ บริการวิชาการ ร่วมกับ UNFPA, TICA, WHO, สปสช. กสธ. (สสม. สป.) ด้านการศึกษา ภายในประเทศ ต่างประเทศ , ALUMNI

พัฒนาระบบบริหารจัดการภายใน ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการภายใน ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 2553 2554 ปรับปรุงด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม ASEAN House หอพักนักเรียน นักศึกษา บริการห้องประชุม ที่พัก และอาหาร โครงสร้างองค์กร การบริหาร และพัฒนาบุคคล นโยบายและแผน การบริหารพัสดุ การเงิน ปรับปรุง ASEAN House ปรับปรุงห้องประชุม พัฒนาการบริหารบุคคล และพัฒนาองค์กร core value & specific functions การประเมินผล ระบบแผนปฏิบัติงาน และงบประมาณ