ธนาคารโลก ธนาคารความรู้ (World Bank)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
ขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงาน
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
Knowledge Management (KM)
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
แนวทางการพัฒนางาน บริการชุมชนและส่งเสริมการใช้บริการ
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
Communities of Practice (CoP)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
โครงการศูนย์บริการประชาชนเคลื่อนที่ในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดกระบี่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
จุดมุ่งหมายของโครงการ Intel Teach to The Future
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
สรุปที่เรียนมา วิเคราะห์การบ้านงานกลุ่ม
รศ.ชัยยศ สันติวงษ์ ครั้งที่ 4 วันที่ 17 มิถุนายน 2554
Putting Knowledge in the Flow of Work
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
เทคนิคการบริหารและการเตรียมความพร้อมสำหรับ ผู้บริหารระดับกลางมือใหม่ ( Management Technique and Mindset ) ในช่วง 4 – 5 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยได้มีการพยายามมุ่งเน้นการปฏิรูปการบริหารจัดการอย่าง.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
Web.
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ธนาคารโลก ธนาคารความรู้ (World Bank) Knowledge Sharing http://www.worldbank.org/ks/

การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในธนาคารโลก ในปี ค.ศ. 1996 เมื่อประธานธนาคารโลกที่ชื่อ James Wolfensohn ได้ “ปฏิวัติ” หลักคิดเกี่ยวกับพันธะกิจ และบทบาทของธนาคารใหม่ให้กลมกลืนกับยุคเศรษฐกิจใหม่ (New Economy) โดยได้มองเห็นว่าแท้จริงแล้วจุดแข็งหรือสินทรัพย์ (Asset) ของธนาคาร หาใช่การเป็น “แหล่งเงิน” เหมือนที่เคยเข้าใจกันมาแต่ในอดีต ทั้งนี้เนื่องจากธนาคารได้มีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมพัฒนาโครงการต่างๆ ทั่วโลก ทำให้ ธนาคารมีสินทรัพย์เชิงความรู้ (Knowledge Asset) อยู่มากมายมหาศาล

สิ่งที่ส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ - สู่การสร้าง KM

การเข้ามีส่วนร่วม การเข้ามีส่วนร่วมในการพิจารณาแผน จัดทำ TOR (Term of Reference) ตั้งเกณฑ์และดำเนินการประเมิน และมีการรวบรวมข้อมูลต่างๆ มากมายก่อนตัดสินใจให้การสนับสนุนด้านการเงิน **** ส่งผลให้ **** เป็นแหล่งความรู้ด้านการพัฒนาโครงการและด้านเศรษฐกิจ ส่งผลให้ประธานธนาคารได้เปลี่ยนวิสัยทัศน์ของธนาคารใหม่ จากภาพของการเป็นสถาบันการเงิน ไปสู่ภาพใหม่ของการเป็น “ธนาคารแห่งความรู้”

การประยุกต์ใช้ความรู้แทน การทำงานของธนาคารที่เคยมุ่งเน้นแต่การให้เงินและให้คำปรึกษา ได้ปรับเปลี่ยนมาให้ความสำคัญกับ การพัฒนาศักยภาพด้านการสร้างสรรค์ (Creation) การแบ่งปันความรู้ การประยุกต์ใช้ความรู้แทน

Knowledge Sharing at the World Bank Vision of the knowledge bank through learning from the outside world… through Economic and Sector Work research evaluation with our clients, partners and outside world… with staff in the organization through products and services… and learning our successes from failures and

เกลียวความรู้ SECI Model Socialization Thematic Groups (communities of practice) Indigenous Knowledge Externalization Advisory Services (help desk facilities) Development Forum - B-SPAN Dissemination (formal/informal learning) Combination Sector Knowledge Collections (Web) Debriefing (tacit knowledge download) Knowledge Manager Internalization World Bank Institute S E I C

ผู้จัดการความรู้ (Knowledge Manager) ทำหน้าที่ ดูแล ประสาน เอื้ออำนวย กระตุ้น และส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศที่เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วัฒนธรรมการทำงาน ระบบงาน และโครงสร้างส่วนใดที่เห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการสื่อสารและการแบ่งปันความรู้ จะถูกปรับใหม่ให้เข้ากับวิถีคิดแบบ Knowledge Management (KM)

Knowledge Sharing at the World Bank Communities of practice Organized by sector or across sectors Support core Bank functions Funded by Sector Boards and accountable to them Rely extensively on knowledge partnerships Use a broad range of technology Thematic Groups are the core of the Bank Knowledge Management System. They have developed very fast over the last 5 years. There are now more than 80 Thematic Groups. throughout the Bank.

Knowledge Sharing at the World Bank Organization Task Teams and Thematic Groups Environment Africa Central Asia Latin America & Caribbean Middle East and North Africa South Asia Private Sector & Infrastructure East Asian & Pacific Operation Core Services Human Development Poverty Reduction Regions Sectors Thematic Groups Task Teams

Knowledge and Innovation Client communities of practice http://ayudaurbana.com/index.htm

Global Knowledge, Local Adaptation Capturing tacit knowledge

Global Knowledge, Local Adaptation Tapping into client knowledge

Global Knowledge, Local Adaptation Brokering global knowledge http://www.developmentgateway.org

Knowledge and Innovation Development Marketplace http://www.developmentmarketplace.org

Knowledge and Innovation Global Distance Distance Learning Network http://www.gdln.org

Knowledge and Innovation Webcasting for development http://www.worldbank.org/wbi/B-SPAN/

Concluding Remarks: A shift in development paradigm Within the Bank: Continued emphasis on Knowledge Communities. A new Staff Learning Framework. Cutting edge technology to support knowledge & learning. Within Client Countries: Creating multiple knowledge flows. Empowering through access to knowledge. Developing communities of learners. Building strong knowledge partnerships.

ตัวอย่าง ศูนย์รวมความรู้ ในประเทศไทย ศูนย์ข้อมูล InfoServ คือ ศูนย์บริการข้อมูลเพื่อการพัฒนาแห่งธนาคารโลก (InfoServ) ทำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลของ โครงการ กิจกรรม และสารสนเทศในประเด็นต่างๆ ของธนาคารสู่สาธารณชนในประเทศสมาชิกซึ่งมีการดำเนินการตามนโยบายการเปิดเผยข้อมูลของธนาคารโลก เพื่อให้ผู้ที่สนใจทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆของธนาคารโลกได้สะดวกและมีประสิทธิภาพ ธนาคารโลกมุ่งมั่นที่จะเผยแพร่ข้อมูลต่างๆไปสู่ประชาคมในประเทศสมาชิก ให้ได้อย่างกว้างขวางมากขึ้น โดยการทำงานในเชิงรุกเพื่อให้มีความเข้าใจในบทบาทของธนาคารโลก และเป็นประโยชน์ต่อสังคมในด้านการแบ่งปันความรู้และข่าวสาร

คุณสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างไร ? สามารถดาวน์โหลดและพิมพ์ได้จากเว็บไซด์ของธนาคาร คือ http://www.worldbank.org/ks/   เอกสารต่างๆ ซึ่งมีทั้งเอกสารภาษาไทย เขมร ลาว บางส่วนก็เป็นเอกสารที่แจกฟรีตามธนาคารต่าง InfoServ ซึ่งดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ให้บริการข้อมูล Public Information Assistant ซึ่งยินดีให้บริการในการค้นคว้าวิจัย

InfoServ มีอะไรน่าสนใจ ? เอกสารข้อมูลโครงการ (Project Information Documents - PIDs) เอกสารประเมินโครงการ (Project Appraisal Documents - PADs) รายงานด้านเศรษฐกิจ Economic Sector Reports การประเมินสิ่งแวดล้อม (Environmental Assessment - EAs) ข้อตกลงในการกู้ยืม (Loan or Development Credit Agreement) เอกสารการประกวดราคาและที่ปรึกษา (Bidding and consultant documents) UN Development Business

สามารถ sign up เพื่อรับข่าวสารผ่านอีเมลล์อย่างสม่ำเสมอ InfoServ ประเทศไทยให้บริการอินเตอร์เนตโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายแก่ผู้ใช้รวมทั้งบริการสืบค้นข้อมูลที่สามารถดาวน์โหลดสิ่งพิมพ์ของธนาคารได้ สามารถ sign up เพื่อรับข่าวสารผ่านอีเมลล์อย่างสม่ำเสมอ  นอกจากเอกสารด้านการจัดการแล้ว  InfoServ ยังมีสิ่งพิมพ์จำนวนหนึ่งและสิ่งพิมพ์พิเศษให้บริการ  เอกสารบางส่วนแจกให้ฟรีแก่ผู้สนใจ นอกจาก InfoServ แล้ว ยังมีหน่วยงานอื่นๆ ที่ให้บริการข้อมูลข่าวสารเพื่อการพัฒนาของธนาคารโลกได้แก่ ห้องสมุดสาขา (Depository libraries) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ร่วมกันให้บริการสิ่งพิมพ์ของธนาคารโลก ตัวแทนจำหน่ายหนังสือในประเทศ

บทสรุป ความรู้เหล่านี้เป็นสิ่งที่หาไม่ได้ในการฝึกอบรม เป็นความรู้ที่ไม่ได้อยู่ในคู่มือการปฏิบัติงาน หรือในตำราวิชาการ จากที่เคยเป็นผู้ที่มีทั้ง “เงิน” และ “คำแนะนำ” ไปสู่สถานภาพใหม่ที่เน้นการส่งเสริมช่วยเหลือและผลักดันโครงการบนพื้นฐานแห่งความไว้เนื้อเชื่อใจเป็นหลัก