การเขียนจดหมาย
จดหมายเสนอขาย 1. รู้จักสินค้าหรือบริการที่จะขาย 2. รู้จักตลาดของสินค้า 3. รู้จักลูกค้า 4. เหตุจูงใจให้ซื้อสินค้า
ข้อความเรียกร้องความสนใจ 1 . เหตุการณ์ที่น่าสนใจในปัจจุบัน 2. .เสนอสินค้าหรือบริการที่จะขาย 3. คำพังเพยหรือสุภาษิต
ข้อความเรียกร้องความสนใจ 4. อ้างอิงชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียง 5. เริ่มด้วยคำถาม 6. เริ่มด้วยคำสั่ง 7. เริ่มด้วยคำท้าทาย
ข้อความเรียกร้องความสนใจ ข้อความที่ก่อให้เกิดความพอใจและต้องการ ต้องชี้ให้เขาเห็นประโยชน์ที่จะได้รับ “จงดื่มโอวัลตินร้อนๆหนึ่งถ้วยก่อนนอน ท่านจะหลับสนิทและตื่นขึ้นอย่างสดชื่นในตอนเช้า”
ข้อความเรียกร้องความสนใจ ข้อความที่ให้ความกระจ่างแก่ผู้ซื้อ 1. อ้างถึงข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสินค้า “สบู่หอมนกแก้วรับใช้ท่านมากว่า 30 ปีแล้ว ด้วยคุณภาพที่ได้มาตราฐานเสมอมา”
ข้อความเรียกร้องความสนใจ ข้อความที่ให้ความกระจ่างแก่ผู้ซื้อ 2. ให้ผู้อ่านได้ทดลองใช้สินค้าฟรี 3. อ้างถึงหนังสือรับรองของผู้ใช้สินค้านั้นแล้วเกิดความพอใจ 4. ให้ชมสินค้าตัวอย่าง
ข้อความเรียกร้องความสนใจ ข้อความที่ให้ความกระจ่างแก่ผู้ซื้อ 5. อ้างถึงการรับประกัน “เครื่องซักผ้าชาร์ป บริษัทรับรองคุณภาพและรับประกัน 1 ปีเต็ม”
ข้อความเรียกร้องความสนใจ ข้อความที่ให้ความกระจ่างแก่ผู้ซื้อ 6. แนะนำวิธีประหยัด “ตามรายงานปรากฏว่า แต่ละบ้านสามารถประหยัดเงินค่าหุงต้มได้เดือนละประมาณ 50 บาท เพราะใช้เตาหุงต้มชาร์ป”
ข้อความเรียกร้องความสนใจ ข้อความที่ยั่วยุหรือเร่งเร้าให้ตัดสินใจซื้อ 1. บอกกำหนดเวลา 2. ชี้ให้เห็นว่าราคาสูงขึ้นไปอีก 3. ย้ำว่าสินค้านั้นมีจำนวนจำกัด
ข้อความเรียกร้องความสนใจ ข้อความที่ยั่วยุหรือเร่งเร้าให้ตัดสินใจซื้อ 4. ให้ซื้อโดยวิธีผ่อนชำระ 5. ให้ทดลองด้วยตนเอง 6. ให้ของแถม 7. ลดราคาให้เป็นพิเศษ
จดหมายโฆษณา - จดหมายที่เสนอสินค้าและบริการโดยแจ้งรายละเอียดต่างๆ - มีวัตถุประสงค์เพื่อโน้มน้าวจิตใจลูกค้าให้เกิดความต้องการซื้อสินค้า
จดหมายโฆษณา ผู้เขียนจดหมายโฆษณาขายสินค้าและบริการ 1. รู้จักตัวสินค้าและบริการเป็นอย่างดี 2. รู้จักตลาด 3. รู้จักลูกค้า 4. รู้เหตุจูงใจลูกค้า
จดหมายโฆษณา ขั้นตอนการเขียนจดหมาย 1. เสนอสินค้าและบริการ 2. เขียนข้อความที่ผู้อ่านจะเกิดความต้องการซื้อ 3. เขียนข้อความที่ผู้อ่านจะเกิดความเชื่อมั่น 4. เขียนข้อความที่ยั่วยุให้เกิดการปฏิบัติ
จดหมายสอบถาม - จดหมายที่ข้องใจเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจ - ผู้ขายหรือลูกค้าเขียนมาเพื่อสอบถามรายละเอียดต่างๆ
จดหมายสอบถาม 1. อารัมบท 2. รายละเอียดที่สอบถาม 3. ข้อความตอนท้าย
จดหมายตอบสอบถาม - จดหมายที่ตอบจดหมายสอบถามมีมีมายังตน - ต้องตอบข้อข้องใจทุกข้อให้ชัดเจน โดยคำนึงถึงประโยชน์ที่ตนจะได้รับ
จดหมายตอบสอบถาม 1. อารัมบท 2. ตอบรายละเอียดที่สอบถาม 3. แทรกโฆษณาสินค้า 4. ข้อความตอนท้าย
จดหมายทวงหนี้ - จดหมายที่เขียนในลักษณะเตือนลูกหนี้ว่าครบกำหนดชำระหนี้แล้ว - อาจจะแนบบัญชีแจ้งหนี้เพื่อให้ลูกหนี้ตรวจสอบและลงชื่อรับรองการเป็นหนี้
ลักษณะของจดหมายทวงหนี้ 1. ใช้ข้อความที่แนบเนียบ 2. ใช้ข้อความสุภาพ 3. คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อ่าน
ชนิดของจดหมายทวงหนี้ 1. จดหมายทวงหนี้ 2. จดหมายผ่อนผันหนี้ 3.จดหมายทวงหนี้
จดหมายต่อว่า - จดหมายที่ลูกค้าต่อว่าผู้ขายในกรณีที่ซื้อสินค้าแล้วมีความผิดพลาด - วัตถุประสงค์ที่จะให้ผู้ขายรับรู้ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น เพื่อ แก้ไข ปรับปรุงต่อไป
ขั้นตอนการเขียน 1. อารัมภบท 2. บอกสาเหตุที่ต้องต่อว่า 3. บอกข้อเรียกร้อง
จดหมายปรับความเข้าใจ - จดหมายที่ปรับความเข้าใจในเรื่องที่ลูกค้าต่อว่ามา - เพื่อรักษาความสัมพันธ์อันดีระหว่างบริษัทกับลูกค้า
ขั้นตอนการเขียน 1. อารัมภบท 2. บอกสาเหตุข้อบกพร่อง หรือชี้แจงให้เข้าใจ 3. สรุป