ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตรวจสอบกิจการ เฌณิศา ดาวลาม นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการ
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ การรวบรวมและประเมินหลักฐานที่เกี่ยวกับกิจกรรม และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การเปรียบเทียบหลักฐานที่เกี่ยวกับกิจกรรมและเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นกับกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น การสื่อสารผลการตรวจสอบไปยังผู้ใช้ (สหกรณ์, เจ้าหน้าที่ของรัฐ ฯลฯ ) Company Logo
การตรวจสอบกิจการตาม พรบ. สหกรณ์ 2542 มาตรา 53 ให้สหกรณ์มีผู้ตรวจสอบกิจการ ซึ่งที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งจากสมาชิก หรือบุคคลภายนอก เพื่อดำเนินการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ แล้วทำรายงานเสนอต่อที่ประชุมใหญ่ Company Logo
ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการตรวจสอบกิจการสหกรณ์ พ.ศ.2555 Company Logo
การตรวจสอบกิจการ หมายความว่า การตรวจสอบการปฏิบัติเกี่ยวกับการเงิน หรือ การบัญชี การตรวจสอบการปฏิบัติการ การตรวจสอบการบริหารงาน การตรวจสอบระบบงานสารสนเทศ การตรวจสอบด้านอื่น ๆ Company Logo
วัตถุประสงค์การตรวจสอบกิจการ วัตถุประสงค์ด้านการเงินการบัญชี วัตถุประสงค์ด้านการบริหารงาน วัตถุประสงค์ด้านการดำเนินงาน Company Logo
อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ การตรวจสอบ การรายงาน การติดตามผล การเข้าร่วมประชุม Company Logo
หน้าที่ของสหกรณ์ผู้รับตรวจ ให้ความสะดวกและให้ความร่วมมือ การจัดทำบัญชีและเอกสารหลักฐานต่าง ๆให้พร้อมตรวจทุกเมื่อ ชี้แจงและตอบข้อซักถาม พร้อมทั้งจัดหาข้อมูลเพิ่มเติมให้ พิจารณาปฏิบัติตามข้อทักท้วงและข้อเสนอแนะ Company Logo
มาตรฐานการตรวจสอบกิจการ ปฏิบัติงานตรวจสอบด้านการเงินการบัญชี การปฏิบัติงาน และการบริหารงาน ปฏิบัติงานอย่างโปร่งใส ชัดเจน ถูกต้อง เที่ยงธรรม วางแผนการตรวจสอบอย่างเหมาะสม สอบทานและประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน ของสหกรณ์ ใช้วิธีการตรวจสอบตามควรแก่กรณี Company Logo
มาตรฐานการตรวจสอบกิจการ มาตรฐานการรายงาน รายงานตามแบบที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์กำหนด ระบุวัตถุประสงค์ ขอบเขต และวิธีการตรวจสอบ ไว้ในรายงาน รายงานเรื่องที่ตรวจพบให้ครบถ้วนและเสนอแนะ การแก้ไขปรับปรุง Company Logo
กระบวนการตรวจสอบกิจการ 1. การเตรียมการก่อนตรวจสอบ 2. การวางแผนการตรวจสอบ 3. การปฏิบัติงานตรวจสอบ 4. การรายงานผลการตรวจสอบ 5. การติดตามผลการตรวจสอบ Company Logo
การตรวจสอบ ด้านการบริหารทั่วไป การตรวจสอบ ด้านการบริหารทั่วไป
ภาพรวมการตรวจสอบด้านการบริหารทั่วไป 1. วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 2. วิธีการตรวจสอบ - ตรวจสอบการกำหนดระเบียบ - ตรวจสอบการกำหนดแผนการดำเนินงานประจำปี - เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับแผนการปฏิบัติงาน ประจำปี - ดูว่ามีการประชุมคณะกรรมการดำเนินการประจำเดือน Company Logo www.themegallery.com
วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ด้านการบริหารทั่วไป วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ด้านการบริหารทั่วไป เพื่อให้ทราบว่าการบริหารทั่วไปเป็นไปโดยเหมาะสมตามข้อบังคับระเบียบ กฎหมาย และมติต่าง ๆ ซึ่งที่ประชุมได้กำหนดไว้ เพื่อให้ทราบถึงประสิทธิภาพในการบริหารว่าเป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ เพื่อสรุปผลการตรวจสอบ รวมทั้งข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงแก้ไขและกาพัฒนา สหกรณ์ Company Logo www.themegallery.com
วิธีการตรวจสอบ ( 1 ) ตรวจสอบการกำหนดระเบียบสำคัญที่ควรกำหนด ขึ้นถือใช้ เช่น ระเบียบ.... ว่าด้วยการรับ-จ่ายและเก็บรักษาเงิน ว่าด้วยการรับฝากเงิน ว่าด้วยการให้เงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้ ว่าด้วยการจัดหาสิ่งของมาจำหน่าย ว่าด้วยการรวบรวมผลิตผล ว่าด้วยคณะกรรมการดำเนินการ ว่าด้วยเจ้าหน้าที่และลูกจ้าง ฯลฯ Company Logo www.themegallery.com
( 2 ) ดูแผนดำเนินงานประจำปีปัจจุบันเทียบกับปีก่อน ( 2 ) ดูแผนดำเนินงานประจำปีปัจจุบันเทียบกับปีก่อน ( 3 ) เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับแผนปฏิบัติงาน ประจำปีแต่ละงวด Company Logo www.themegallery.com
กรณีผลการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผน 1. รายงานให้คณะกรรมการฯ ทราบ 2. ดูว่ามีการประชุมคณะกรรมการฯ ประจำเดือน Company Logo www.themegallery.com