ฝึกแล้วสื่อความหมายได้ดี ฝึกพูดเป็นการพัฒนามนุษยสัมพันธ์ ทำไมต้องฝึกพูด ฝึกแล้วสื่อความหมายได้ดี ฝึกพูดเป็นการพัฒนามนุษยสัมพันธ์ จะเป็นผู้นำต้องเป็นนักพูดด้วย การพูดที่ดีจะทำให้หน้าที่และบทบาทของตนดีขึ้น เปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพของตนให้ดีขึ้น
ไม่มีพลังอันยิ่งใหญ่ใด ที่จะทรงอิทธิพล และผลักดันมวลชนได้ดีเท่าการพูด บทบาทวิทยากรและเทคนิคการฝึกอบรม สามารถ ศรีวิริยาภรณ์
คำถามที่ต้องการคำตอบ อะไรที่จะสามารถดึงดูดความสนใจของคนฟังไว้ได้ตลอดเวลา จะทำอย่างไรให้เนื้อหาที่จะนำเสนอมีความหมายและติดอยู่ในความทรงจำของผู้ฟังได้นานๆ อะไรที่จะจุดประกายและทำให้เขาคล้อยตาม เนื้อหาสาระที่ได้นำเสนอ
1. ระดับพูดถูกต้อง 2. ระดับพูดน่าฟัง 3. ระดับพูดน่าเชื่อถือ พูดได้ พูดเป็น 1. ระดับพูดถูกต้อง 2. ระดับพูดน่าฟัง 3. ระดับพูดน่าเชื่อถือ
เตรียมให้พร้อม ชัดเจน กะทัดรัด ทำเรื่องยากให้ง่าย อธิบายนามธรรมให้เป็นรูปธรรม เหมาะกับคนฟัง ป้องกันการพูดติดขัด สร้างความเชื่อมั่น ป้องกันวาระซ้อนเร้น
ซ้อมให้ดี อ่อนซ้อม+เรื้อเวที =ตกม้าตาย ท่องจำ โน้ตหัวข้อ อ่านจากต้นฉบับ ผสมผสาน
ท่าทีให้สง่า จริงใจ แต่ห้าม ไร้มาด เสริมสร้างบุคลิกภาพภายในและภายนอก ห้าม คุ้ย แคะ แกะ เกา เขย่าชัก ควัก ล้วง ยัก โยก ถอน ค้อน กระพริบ
หน้าตาสอดคล้องกับเรื่องที่พูด แสดงความรู้สึกออกทางสีหน้าและสายตา หน้าตาสุขุม หน้าตาสอดคล้องกับเรื่องที่พูด แสดงความรู้สึกออกทางสีหน้าและสายตา
ทักที่ประชุมไม่วกวน ทักตามลำดับ ไม่ พูดออกตัว มัวอ้อมค้อม พูดถ่อมตน ไม่ พูดออกตัว มัวอ้อมค้อม พูดถ่อมตน สาละวนขออภัย พูดจาอะไรไม่รู้เรื่อง
เริ่มต้นโน้มน้าว ลักษณะคำนำที่ดี 1. สร้างศรัทธาให้ผู้ฟังพอใจผู้พูด 2. เรียกร้องความสนใจ 3. เปิดเผยเรื่องที่จะพูด พาดหัวข่าว กล่าวคำถาม คำรื่นเริง เชิงกวี มีสงสัย
เรื่องราวกระชับ เรียงลำดับ จับประเด็น เน้นเหตุการณ์
ตาจับผู้ฟัง ขงเบ้งดูดาว สาวน้อยหลบตา ดาราเล่นกล นิมนต์หลวงพี่ หมีกินผึ้ง ถึงบทจำอวด
เสียงดังพอดี ถ้อยคำถ่ายทอดความคิด เสียงถ่ายทอดอารมณ์ เสียงดังพอดี ถ้อยคำถ่ายทอดความคิด เสียงถ่ายทอดอารมณ์ ปรับปรุงเสียงตนเอง ใช้เครื่องเสียงปรับช่วย พูดดังไป ค่อยไป แหบเสน่ห์
พูดภาษาของผู้ฟัง #ภาษาของผู้พูด พูดจาให้เข้าหูคน เลือกวิธีใช้ภาษา พูดภาษาของผู้ฟัง #ภาษาของผู้พูด พูดจาให้เข้าหูคน
พูดจบก่อนเวลาผู้จัดเดือดร้อน พูดจบเลยเวลา ดูเวลาพอครบ พูดจบก่อนเวลาผู้จัดเดือดร้อน พูดจบเลยเวลา คนฟังไม่ฟัง กาแฟเย็น อาหารบูด กระทบวิชาต่อไป
ให้ความมั่นใจและยอมรับ ตอบ สรุปจบจับใจ สรุปความ ตามคมปาก ฝากข้อคิด สะกิดให้ถาม การตอบคำถาม ฟัง ตัดสินใจ ให้ความมั่นใจและยอมรับ ตอบ
ยิ้มแย้มแจ่มใสเวลาพูด ประสานคนพูดให้เข้ากับคนฟัง ปูทางเข้าถึงปัญหา ลดความโมโหร้ายของผู้ฟัง ช่วยให้จำง่าย ทำให้คนฟังตั้งใจฟัง
เทคนิคการสร้างอารมณ์ขัน มองโลกในแง่ดี มีความแหลมคม สะสมจดจำ นำมาดัดแปลง แสดงถูกกาล
ข้อควรคำนึงในการเลือก..เทคนิค วัตถุประสงค์หลักสูตร / รายวิชา เนื้อหาวิชา วิทยากร ผู้เข้าอบรม ความพร้อมด้านทรัพยากร
อ่านหนังสือร้อยเล่มพันเล่ม ยังไม่เท่ากับการขึ้นเวทีไปพูดจริงเพียงครั้งเดียว