หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
Graphic Design for Video
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
การเขียนรูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
Chapter 2 : Character and Fonts
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
COMPOSITION องค์ประกอบศิลป์.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
รูปร่างและรูปทรง.
การพัฒนาเว็บ.
การออกแบบโครงสร้างบ้านและตกแต่งภายใน
ขั้นตอนการออกแบบทาง.
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ภูมิทัศน์ชุมชนเมือง URBAN LANDSCAPE
สวนหิน (Rock garden) ดร.สุภาพรรณ ธรรมสุวรรณ ภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
บทที่ 4 องค์ประกอบศิลป์.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
หลักการเขียนแบบสวนเบื้องต้น
CONTRAST- EMPHASIS.
แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี โดย เด็กหญิง ณภาภัช โรจนกุล
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
บทนำ บทที่ 1.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
องค์ประกอบ ของการออกแบบเว็บไซท์ อย่างมีประสิทธิภาพ
สี (Color).
แผนผังแสดงองค์ประกอบของศิลปะ
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
การเขียน.
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
Habitat Winter No. 14 “ สีสันสร้างอารมณ์ ”. Habitat Winter No. 14 การทาสีในแนวขวาง ให้ พื้นที่สีจากด้านล่างมาก ที่สุดไปน้อยที่สุด เพิ่ม ความสนุกสนานให้กับการ.
ดินถล่ม.
New Zealand House & Garden July 2009 “ บ้านและสวนสวยหลากสไตล์ ”
ดาวศุกร์ (Venus).
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
นี่เป็นเรื่องของพี่น้องสองคน ที่อาศัยอยู่ อย่างกลมเกลียวกัน เป็นเวลาหลายปี เขาอาศัยอยู่ในฟาร์มคนละที่ แต่วันหนึ่ง...
การออกแบบการจัดสวนหย่อม
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน บทที่ 6 หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน ความรู้ด้านข้อมูล เชิงพื้นที่ โครงสร้างบ้าน ตัวบุคคล ความมีศิลปะและการนำออกมาใช้ ทุกคนมีศิลปะในตนเองจะนำมาใช้เมื่อต้องการเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หลักการของศิลปะเพื่อการออกแบบสวน เป็นหลักเดียวกันกับศิลปะแขนงอื่น เช่น จิตกรรม ปฏิมากรรม

ความกลมกลืน (unity) หมายถึงลักษณะความกลมกลืนกันของทุกสิ่งภายในบ้านและสวน รูปแบบสไตล์ของบ้านและสวนต้องไปด้วยกัน บ้านทรงไทย สวนแบบไทย บ้านญี่ปุ่น สวนแบบญี่ปุ่น วัสดุที่ใช้สร้างบ้านและสวนต้องกลมกลืนกัน ต้นไม้ หิน รูปปั้น น้ำพุ น้ำตก ทางเท้า รั้ว ศาลา

รูปแบบของสวน (styles) Formal style ใช้รูปทรงทางเรขาคณิต แบ่งให้สมดุล Informal style ไม่ใช้รูปทรงทางเรขาคณิต อาศัยหลักในการจัดวางวัสดุให้สมดุลโดยมวลร่วม แต่น้ำหนักไม่จำเป็นต้องเท่ากัน Abstract style จัดพรรณไม้เป็นกลุ่มใหญ่ ๆ เน้นสีตัดกัน

Formal style

Formal style

Informal style

Abstract style

เวลา (Timing) ศิลปะอื่น ๆ สร้างแล้วเสร็จสมบูรณ์สวยงามทันตา งานจัดสวนต้องรอเวลาให้ต้นไม้โต 5-10 ปีข้างหน้า งานจัดสวนจึงต้องเข้าใจถึงธรรมชาติของพรรณไม้ และต้องมีจิตนาการถึงอนาคต

สัดส่วน (scale) องค์ประกอบของสวนต้องมีสัดส่วนตามความเป็นจริง การจัดวัสดุจัดสวนจะเหมือนกันกับการจัดวางวัสดุตกแต่งห้อง Overhead plane Vertical space divider Base plane

การแบ่งพื้นที่ (space division) ที่โล่ง สนามหญ้า น้ำ ลานหิน ในบริเวณโล่งแจ้ง ที่ทึบ ต้นไม้ให้ร่ม อาคาร ศาลา เรือนไม้ระแนง อัตราส่วนระหว่างที่โล่งกับที่ทึบ 30:70 40:60 50:50 60:40 70:30

เส้น (line) ความหมายและความรู้สึกของเส้น ให้จิตนาการและความรู้สึกของมนุษย์ต่างกัน เส้นตรงแนวนอน สงบ ราบเรียบ เส้นตรงแนวตั้ง ตื่นเต้น เคลื่อนไหว

เส้นตรงแนวทแยง รวดเร็ว ว่องไว เส้นโค้ง เคลื่อนที่ช้าหรือเร็ว

รูปร่าง (Form) เมื่อนำเส้นชนิดต่างๆกันมาต่อกันจะเกิดเป็นรูปร่าง ให้ความรู้สึกแตกต่างกัน

การวางรูปร่างต่างๆพิจารณาจากstyle, scale, space, color

ผิวสัมผัส ( texture) ผิวสัมผัสหยาบ ให้ความรู้สึกหยาบกระด้าง บีบบังคับ เชื่องช้าโบราณ ผิวสัมผัสละเอียด ให้ความรู้สึกร่าเริง ลึกลับ ต้องจัดให้สองสิ่งนี้เหมาะสมกัน สวนญี่ปุ่นหยาบ สเปนตัดกันอย่างชัดเจน อังกฤษใกล้เคียงกันและกลมกลืนกัน

สี (color) สร้างให้สวนสวยเกิดความหมายมากมายตามสีของวัสดุต่างๆที่ใช้จัดสาน แม่สี โทนสี สีตรงข้าม

การใช้สีในงานจัดสวน * Contract * Unity

หลักจิตวิทยาในการจัดสวน (Psychology of design) มนุษย์จะถอยห่างจากสิ่งใด มนุษย์จะเดินเข้าหาสิ่งใด มนุษย์ต่อความราบเรียบ มนุษย์ต่อการเดินขึ้นสู่ที่สูง มนุษย์ต่อการเดินขึ้นสู่ที่ต่ำ

การออกแบบสวนให้มีจุดสนใจ ให้มีชีวิต......................ไม่น่าเบื่อ ทำให้น่าตกใจ..............กระตุ้นความรู้สึก ทำให้สวยงาม..............ประทับใจ สร้างแรงบันดาลใจ.....พยายามที่จะประสบความสำเร็จ มีเหตุผล แปลกตาประหลาด หายาก สิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อการศึกษา