หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

สาขาวิชาที่เปิดสอน วิทยาลัยการอาชีพนครนายก Nakornnayok industrial and community education collage.
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
สรุปผลการดำเนินงานของ คณะทำงานฝ่ายวารสารและเอกสาร
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
“ จดหมายเหตุ CHILL CHILL ”
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การจัดการบริการสารสนเทศ หน่วยที่ 6 การส่งเสริมการใช้บริการสารสนเทศและ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
บรรยายพิเศษ นโยบายและทิศทางการพัฒนามุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน.
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
แนวทางการพัฒนางาน บริการชุมชนและส่งเสริมการใช้บริการ
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ความจำเป็นในการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
การจัดการศึกษาในชุมชน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (1)
สื่อการสอน : เว็บไซต์สำนักวิทย บริการ สถาบันราชภัฏ อุตรดิตถ์ รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ.
สื่อความรู้เบื้องต้นทางบรรณารักษ์ศาสตร์
แผนพัฒนางาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ เพื่อสนับสนุนงานวิชาการในการรองรับ AEC
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประเมินผล เน้นการนำไปใช้ ให้นักเรียนสามารถ Apply สิ่งที่เรียนไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
QA ready ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา 16 มกราคม 2556 เวลา 13:40-13:50.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถนำไปประยุกต์ในด้านต่างๆได้
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ

ประเภทของแหล่งสารสนเทศ 1. แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถาบัน 2. แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถานที่ 3. แหล่งสารสนเทศที่เป็นบุคคล 4. แหล่งสารสนเทศที่เป็นเหตุการณ์

แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถาบัน คือ สถาบันที่ตั้งขึ้นเพื่อจัดหา รวบรวม วัสดุสารสนเทศประเภทต่าง ๆ เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ เช่น ห้องสมุด ศูนย์สารสนเทศ หอจดหมายเหตุ

ห้องสมุด เป็นแหล่งให้บริการสารสนเทศทั้งประเภทสื่อตีพิมพ์และสื่อไม่ตีพิมพ์ โดยมีบรรณารักษ์เป็นผู้บริหารงาน และมีบริการต่าง ๆสำหรับผู้ใช้ห้องสมุด ห้องสมุด มีหน้าที่ในการให้การศึกษา ให้ความรู้ข่าวสาร ให้ความบันเทิง ให้ความจรรโลงใจ และเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีแก่ผู้ใช้บริการ

ประเภทของห้องสมุด ห้องสมุดโรงเรียน (School Libraries) ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย (Academic Libraries) ห้องสมุดประชาชน (Public Libraries) ห้องสมุดเฉพาะ (Special Libraries) หอสมุดแห่งชาติ (National Libraries)

1. ห้องสมุดโรงเรียน มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการเรียนการสอนในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพ โดยให้บริการแก่ อาจารย์และนักเรียน ห้องสมุดมีการจัดหาและรวบรวมทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อโสตทัศน์ประเภทต่างๆ ไว้ด้วย จึงทำให้มีชื่อเรียกแตกต่างกันไป เช่น ศูนย์วัสดุการสอน ศูนย์วัสดุการเรียน ศูนย์สื่อการศึกษา ซึ่งหมายรวมงานห้องสมุดกับหน่วยสื่อโสตทัศนศึกษาเข้าด้วยกัน

2. ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย จัดตั้งขึ้นในสถาบันอุดมศึกษา เพื่อให้บริการแก่นักศึกษา อาจารย์ นักวิจัยและเจ้าหน้าที่ของสถาบัน ห้องสมุดประเภทนี้เป็นเครื่องมือในการสอนเป็นแหล่งเพิ่มพูนความรู้ด้วยตนเอง และส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยขั้นสูงของนักศึกษาและอาจารย์

สำนักวิทยบริการ เป็นห้องสมุดมหาวิทยาลัยซึ่งทำหน้าที่ รวบรวมจัดหา จัดเก็บ และให้บริการสารสนเทศในทุกรูปแบบ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนภารกิจของมหาวิทยาลัย 5 ด้าน ได้แก่ การเรียน การสอน การวิจัย การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และการให้บริการแก่ชุมชน

3. ห้องสมุดประชาชน คือ แหล่งสารสนเทศที่ให้บริการแก่ประชาชนในท้องถิ่น โดยไม่คิดค่าบริการ เป็นแหล่งบริการการศึกษานอกระบบแก่ประชาชน เพื่อส่งเสริมนิสัย รักการอ่าน การค้นคว้า ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และทันต่อเหตุการณ์ ห้องสมุดประชาชนจึงเปรียบเสมือนมหาวิทยาลัยของประชาชน ให้ประชาชนมีโอกาสศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองตลอดชีวิตโดย

4. ห้องสมุดเฉพาะ คือแหล่งสารสนเทศที่จัดตั้งขึ้นในหน่วยราชการ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ สถาบันการค้นคว้าวิจัย สำนักงาน องค์การ บริษัท ธนาคาร หรือสมาคมวิชาชีพ องค์การระหว่างประเทศ เพื่อให้บริการสารนิเทศเฉาะสาขาวิชาแก่บุคคลหรือกลุ่มบุคคล เช่น ห้องสมุดตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร ห้องสมุดชาวสวนของธนาคารกรุงเทพ เป็นต้น

ห้องสมุดตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ห้องสมุดธนาคารไทยพาณิชย์

5. หอสมุดแห่งชาติ คือ ห้องสมุดที่จัดทำขึ้นในชาติให้บริการแก่ประชาชนทั่วไป เพื่อการศึกษาค้นคว้าและพัฒนาตนเองตลอดชีวิต หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี The British Library

แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถานที่ คือ แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถานที่จริงหรือสถานที่จำลองซึ่งผู้ใช้สามารถไปศึกษาหาความรู้จากตัวสถานที่เหล่านั้นได้ เช่น ปราสาทเขาพระวิหาร ไร่นาสวนผสม และเมืองโบราณ เป็นต้น แหล่งประเภทนี้มีประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้าอย่างยิ่ง เพราะบุคคลจะได้รับประสบการณ์ตรงจากแหล่งสารสนเทศ

แหล่งสารสนเทศที่เป็นบุคคล ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้รอบรู้ในสาขาต่างๆ ผู้เชี่ยวชาญบางสาขาวิชาจะมีผลงานเป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถค้นคว้าได้ด้วยตนเอง แต่ผู้เชี่ยวชาญบางคนก็ไม่มีผลงานในลักษณะของวัสดุสารสนเทศ ผู้ต้องการสารสนเทศจากผู้เชี่ยวชาญประเภทหลังนี้ต้องไปพบปะสนทนาหรือสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญนั้นโดยตรงจึงจะได้สารสนเทศที่ต้องการ เช่น นักปราชญ์ ราชบัณฑิต นักวิทยาศาสตร์ ภูมิปัญญาชาวบ้าน

แหล่งสารสนเทศที่เป็นเหตุการณ์ เป็นแหล่งสารสนเทศในเรื่องนั้นๆ และจัดเป็นแหล่งสารสนเทศประเภทปฐมภูมิ (Primary Source) ได้แก่ กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้น เช่น "14 ตุลา" ในปี พ.ศ. 2516 “เหตุการณ์ 911” หรือ การก่อการร้ายตึกเวิลด์เทรดเซนเตอร์ การจัดกิจกรรม งานมหกรรม งานบุญประเพณี หรือการประชุมการสัมมนาในเรื่องต่างๆ เป็นต้น