รายวิชา จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ผู้นำ การจูงใจ การจูงใจคืออะไร
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
หลักการตลาด บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค.
การศึกษารายกรณี.
เรื่อง วัยรุ่น เสนอ คุณครู สุดารัตน์ นันทพานิช
หลักการพัฒนา หลักสูตร
จิตวิทยาการบริหารทีมงาน
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมองค์การ ( Organization Behavior )
ทัศนคติและพฤติกรรมการเที่ยวกลางคืน
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
Learning Theory Dr.Chawanun Charnsil.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
เพื่อสัมพันธภาพที่ดี
รายวิชา จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม
รายวิชา จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
มนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มนุษย์เป็นสัตว์โลก มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
คัชชาตา เจริญวงค์ นักจิตวิทยาคลินิก ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 กรมสุขภาพจิต
(Individual and Organizational)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
The Five Bases of Power.
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
สื่อกับ การรับรู้ของเด็ก
การสร้างวินัยเชิงบวก
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ความหมายของบุคลิกภาพ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
จิตวิทยาเด็กกระทำความผิด
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิเคราะห์Psychoanalysis
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
สื่อโทรทัศน์กับ การรับรู้ของเด็ก
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
ประเภทของพฤติกรรม 1.เกณฑ์ “สังเกต” พฤติกรรมภายนอก (OVERT BEHAVIOR)
 ผู้ฟังในกลุ่มมีจำนวนทั้งสิ้นเท่าใด  ผู้ฟังประกอบด้วยบุคคลเพศหญิงหรือเพศ ชาย วัยใด ในสัดส่วนเท่าใด  ผู้ฟังประกอบด้วยบุคคลที่มาจากกลุ่ม สังคมหรือกลุ่มอาชีพประเภทใด.
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายวิชา 0502 310 จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม รายวิชา 0502 310 จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม ครั้งที่ 4 ทัศนะทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับความก้าวร้าวและความรุนแรง (ต่อ)

งานชิ้นที่ 1 ให้นิสิตแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 7-8 คน ให้แต่ละกลุ่มไปศึกษารูปแบบของความรุนแรงและความก้าวร้าว เช่น การทารุณกรรม, การล่วงละเมิดทางเพศ, ความรุนแรงในครอบครัว เป็นต้น

สิ่งที่ต้องมีในรายงาน คำนิยาม หรือ คำจำกัดความ ลักษณะของผู้กระทำผิด ผลกระทบต่อเหยื่อ การช่วยเหลือ อื่นๆ (ถ้ามี) เช่น ประเภท, ข้อควรระวัง เป็นต้น บทความ หรืองานวิจัยทั้งในประเทศ และต่างประเทศ (นิสิตต้องออกมารายงาน)

ส่งรายงาน ไม่เกินวันที่ 15/8/50 การรายงานบทความหรืองานวิจัยหน้าชั้น ให้ออกมารายงานในวันที่อาจารย์บรรยายหัวข้อนั้น ซึ่งอยู่ในช่วง 15-29/8/50

เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนปกติ: ความครบถ้วน ถูกต้องของเนื้อหา คะแนนพิเศษ: ความน่าสนใจ และทันสมัยของบทความหรืองานวิจัยที่นำมาเสนอ แหล่งข้อมูล

ทัศนะทางจิตวิทยา - การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Psychology) - การเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory) - แรงขับความก้าวร้าวตามทฤษฎีของ Freud - แนวคิดทางพฤติกรรมพุทธิปัญญา (Cognitive-Behavioral Approaches) - อิทธิพลของปัจจัยแวดล้อม (Effect of Contextual Factors)

เอกสารประกอบการสอน โสภา ชูพิกุลชัย (2529) ความรู้เบื้องต้นทางจิตวิทยา กรุงเทพมหานคร: ศ.ส. Baumeister, R.F. & Bushman, B.J. (2008). Social Psychology and Human Nature. Belmont, CA: Thomson Wadsworth. Cloninger, S.C. (2000). Theories of Personality (3rd Ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Hasselt, V. B. V. & Hersen, M. (2000) Hasselt, V. B.V. & Hersen, M. (2000). Aggression and Violence: an Introductory Text. Boston, MA: Allyn and Bacon. Myers, D.G. (2008). Social Psychology. New York, NY: McGraw-Hill. Santrock, J. W. (2005). Psychology (7th ed.). New York, NY: McGraw-Hill.

จงยกตัวอย่างสถานการณ์ การเสริมแรงทางบวก การเสริมแรงทางลบ การลงโทษทางบวก การลงโทษทางลบ

การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Psychology) เด็กชาย ก. ต้องการที่นั่งติดประตู จึงใช้กำลังผลักเด็กชาย น. ผลที่ได้คือ เด็กชาย ก. ได้นั่งในที่ๆเขาต้องการ เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมความก้าวร้าวได้อย่างไร? หลักการสำคัญ คือ... เมื่อบุคคลแสดงพฤติกรรมใดก็ตาม แล้วได้รับรางวัล พฤติกรรมนั้นจะเกิดบ่อยขึ้น หากบุคคลถูกลงโทษ จะส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมนั้นต่อไป หรือหยุดพฤติกรรมนั้น

ความก้าวร้าวเป็นลักษณะหนึ่งของพฤติกรรมต่อต้านสังคม Patterson และคณะ ได้เสนอทฤษฎีพัฒนาการของพฤติกรรมต่อต้านสังคม (Theory of Development of antisocial behavior) อธิบาย – ความสัมพันธ์ของพ่อแม่กับเด็ก และการอบรมเลี้ยงดูของพ่อแม่ ที่มีผลต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็ก ความก้าวร้าวเป็นลักษณะหนึ่งของพฤติกรรมต่อต้านสังคม

นั่นคือ... การอบรมเลี้ยงดูของพ่อแม่ที่ไม่เหมาะสม และไม่มีการว่ากล่าวตักเตือนลูก นำไปสู่พฤติกรรมต่อต้านสังคมของเด็กได้

การเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory) ของ Bandura Behavior Person and Cognitive Factors Environment

การทดลองของ Bandura เกี่ยวกับตัวแบบของความก้าวร้าว เด็กหญิงและชายอายุ 3 ถึง 5 ขวบ ใน Stanford University Nursery School ให้เด็กดูหนังที่แสดงพฤติกรรมความก้าวร้าวของผู้ใหญ่ที่กระทำต่อตุ๊กตา Bobo – แสดงออกทั้งการกระทำและคำพูด

การวางเงื่อนไข ไม่มีการได้รับผลกรรมของพฤติกรรมก้าวร้าว ตัวแบบถูกลงโทษ ตัวแบบได้รับคำชมเชย และได้รับรางวัล

ผลการทดลอง เด็กที่เห็นตัวแบบถูกลงโทษแสดงพฤติกรรมเลียนแบบความก้าวร้าวน้อยกว่าอีก 2 กลุ่ม ไม่มีความแตกต่างของการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบความก้าวร้าวระหว่างเด็กที่เห็นตัวแบบได้รับรางวัลและไม่ได้รับผลกรรม เด็กหญิงแสดงพฤติกรรมเลียนแบบความก้าวร้าวน้อยกว่าเด็กชาย

เมื่อ Bandura เสนอสติ๊กเกอร์และน้ำผลไม้ให้เด็ก ผลปรากฏว่า เด็กทุกกลุ่มแสดงพฤติกรรมความก้าวร้าวเพิ่มขึ้น ผลการทดลองนี้ แสดงให้เห็นเงื่อนไขของพฤติกรรมก้าวร้าวเรื่องใด? การเลียนแบบพฤติกรรมก้าวร้าวเป็นเพียงแค่ชั่วคราว แต่บุคคลสามารถเรียนรู้ได้ด้วยการได้รับแรงเสริมในเวลาต่อมา

การเรียนรู้จากการสังเกต (Observational Learning) จากแนวคิดนี้ จะอธิบายการที่เด็กดูหนังที่มีการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวได้อย่างไร? การให้ความสนใจ (Attention) การคงอยู่ (Retention) การกระทำตามอย่าง (Reproduction) การได้รับรางวัล (Reinforcement) หรือได้รับการส่งเสริม (Incentive Condition)

แรงขับความก้าวร้าวตามทฤษฎีของ Freud Id, Ego, Superego คืออะไร? โครงสร้างของบุคลิกภาพ Id – แรงขับทางสรีระ (Biological drives) เป็นแหล่งของ Libido – สัญชาตญาณ 2 แบบ คือ Ero (Life instinct) และ Thanatos (Death instinct).

Thanatos (Death instinct) – พลังแห่งการทำลาย ซึ่งนำเราไปสู่ความตายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สัญชาตญาณแห่งความตายมักจะขัดแย้งกับสัญชาตญาณแห่งการมีชีวิตอยู่ ดังนั้นสัญชาตญาณแห่งความตายจึงนำเราไปสู่ความก้าวร้าวต่อผู้อื่น

จงอธิบายความเหมือนและความแตกต่าง - การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Psychology) - การเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory) - แรงขับความก้าวร้าวตามทฤษฎีของ Freud