อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
4. สถาบันการเมืองการปกครอง
Advertisements

การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
ระบบเศรษฐกิจ.
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
ประเภทลัทธิทางการเมือง
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
สัปดาห์ที่ 4.
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
ความหมาย การมีส่วนร่วมทางการเมือง
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
Preparation for Democratic Citizen
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องที่
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
วิถีชีวิตประชาธิปไตย
หลักการยอกยาการ์ตา คำปรารภ
บทบาทของวัฒนธรรม การจัดความสัมพันธ์ของคน กำหนดโครงสร้าง/ลำดับทางสังคม เช่น พลเมือง-ลูกบ้าน การจัดสรร-จัดการทรัพยากรต่างๆ การใช้สิ่งต่างๆในสังคม วัฒนธรรมกำหนดพฤติกรรมการใช้ชีวิต.
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ความสำคัญของบุคลิกภาพ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
จุดเน้นวิชาประวัติศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
1. วัฒนธรรมทางการเมือง. 2. วิวัฒนาการทางการเมือง การปกครอง. 3
การพูดโต้วาที เป็นการพูดแบบชักจูง และเป็นการอภิปรายที่จะต้องมีการโต้แย้งกันด้วยเหตุผล เพื่อตัดสินว่าจะยอมรับญัตตินั้นหรือไม่
การแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology) 04/04/60

ประชาธิปไตย (Democracy) ประชาธิปไตย (Democracy) เป็นศัพท์ทางรัฐศาสตร์ที่ถูกนำไปใช้อย่างกว้างขวางและบ่อยครั้งในความหมายต่างกันมากมาย ตนยึดถือการปกครองแบบ “ประชาธิปไตยของประชาชน” (People’s Democracy) “ประชาธิปไตยโดยการชักนำ” หรือประชาธิปไตยแบบนำวิถี (Guided Democracy) และมีการพูดถึง “ประชาธิปไตยแบบไทย ๆ” 04/04/60

ประชาธิปไตย (Democracy) “ประชาธิปไตย” (Democracy) มาจากรากศัพท์ภาษากรีก คือ Demos แปลว่า ประชาชน (people) ซึ่งหมายความเดิมในภาษากรีกหมายถึง คนยากจน (the poor) หรือคนส่วนมาก (the many) กับ Kratos หมายถึง อำนาจ (power) หรือ การปกครอง (rule) ดังนั้น คำว่าประชาธิปไตย (Democracy) จึงหมายถึง rule by the people หรือ การปกครองโดยประชาชน (Andrew Heywood, 1997 : 66) 04/04/60

ความหมายของการปกครองแบบประชาธิปไตย Demos (ประชาชน/ คนส่วนมาก) Kratos (อำนาจ/ การปกครอง) ประชาธิปไตย + ประชาธิปไตย = การปกครองโดยประชาชน (Rule by the people)

ประชาธิปไตย (Democracy) ความหมายประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นในภายหลังนั้น อาจแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ *ความหมายแคบ ถือว่าประชาธิปไตยเป็นเพียงรูปแบบการปกครองแบบหนึ่งเท่านั้น *ความหมายกว้าง หมายถึงปรัชญาของสังคมมนุษย์ที่กำหนดแบบแผนแห่งพฤติกรรมระหว่างมนุษย์ในสังคม 04/04/60

ประชาธิปไตย (Democracy) ประชาธิปไตย 3 ระดับ 1.ประชาธิปไตยในฐานะอุดมการณ์ 2. ประชาธิปไตยในฐานะรูปแบบการปกครอง 3. ประชาธิปไตยในฐานะวิถีชีวิต 04/04/60

อุดมการณ์ประชาธิปไตย มีลักษณะสำคัญ ดังต่อไปนี้คือ 1.การมีศรัทธาในความสามารถของมนุษย์ 2.เชื่อในสิทธิเสรีภาพที่จะแสดงความคิดเห็น 3.มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน 04/04/60

4. อำนาจทางการปกครองของรัฐบาลเกิดขึ้นจากความยินยอมของประชาชน 5. สถาบันการเมือง เศรษฐกิจและสังคมที่เป็นกลไกของรัฐนั้นมีอยู่เพื่อรับใช้บุคคลในสังคม อำนาจรัฐควรมีจำกัด 6. รัฐเป็นเพียงอุปกรณ์ที่ช่วยให้คนในสังคมบรรลุถึงความสุขสมบูรณ์และ ประชาชนมีสิทธิต่อต้านรัฐที่ไม่ปฏิบัติตามจุดหมายนั้นได้

สิทธิเสรีภาพในระบอบประชาธิปไตย 1. เสรีภาพในการพูด การพิมพ์ และการโฆษณา 2. เสรีภาพในการานับถือศาสนา 3. เสรีภาพในการสมาคมหรือรวมกลุ่ม 4. สิทธิในทรัพย์สิน 5. สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย 6. สิทธิส่วนบุคคล

ความเสมอภาคในระบอบประชาธิปไตย 1. ความเสมอภาคทางการเมือง 2. ความเสมอภาคต่อการปฏิบัติของกฎหมาย 3. ความเสมอภาคในโอกาส 4. ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ 5. ความเสมอภาคทางสังคม

ประชาธิปไตยในฐานะเป็นระบอบการปกครอง 1. อำนาจอธิปไตยมาจากประชาชน 2. ประชาชนจะต้องมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศหรือปกครองตนเอง 3. รักษาผลประโยชน์ของฝ่ายข้างมากในการปกครอง (majority rules) ให้ความสำคัญและรักษาผลประโยชน์ให้แก่ฝ่ายข้างน้อยด้วย (minority rights)

4. หลักกฎหมาย (The Rule of Law) เป็นหลักในการปกครอง 5. หลักความยินยอมเห็นชอบร่วมกัน (consensus) 6. หลักการปกครองที่ว่า รัฐบาลที่ดีต้องมีอำนาจจำกัด (The Least Government is the Best Government) 7. หลักความเสมอภาค (Equality)

8. หลักการใช้เหตุผล (Rationality) ทำให้มนุษย์ต่างจากสัตว์ 9. หลักความคิดเห็นทางการเมืองที่แตกต่างกันได้ 10. หลักมองมนุษย์ในแง่ดี (optimistic) 11. หลักเสรีภาพ (Liberty) 12. หลักความสำคัญของวิธีการ (means)

ประชาธิปไตยฐานะเป็นวิถีชีวิต 1) เคารพเหตุผลมากกว่าบุคคล 2) รู้จักการประนีประนอม 3) มีระเบียบวินัย 4) มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม

บุคลิกภาพที่เป็นประชาธิปไตย 1) มีความคิดเห็นเป็นของตนเอง 2) เป็นคนที่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพการณ์ใหม่ ๆ ได้ง่าย 3) มีความรับผิดชอบ 4) ไม่มีอคติต่อศาสนาอื่น

5) คิดถึงบุคคลอื่นในฐานะที่เขาเป็นตัวของเขาเอง ไม่ใช่ไปจัดประเภทให้เขา 6) มองโลกในแง่ดีอยู่เสมอ มีศรัทธาและความหวังต่อชีวิต 7) ไม่ยอมก้มหัวให้กับผู้ยิ่งใหญ่ง่าย ๆ