RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย
Advertisements

ผลของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวลและความปวดในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด (Effect of music therapy on anxiety and pain in cancer patients) ชื่อผู้วิจัย.
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
โครงการวิจัย การเปรียบเทียบสมรรถนะคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Comparative Benchmarking of Faculty of Associated Medical.
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การเสนอโครงการวิจัย.
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
การทดสอบสมมติฐาน
การศึกษาความพึงพอใจของ
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
ชื่อโครงการ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
การเขียนรายงานการวิจัย
ความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกาย
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
ความพึงพอใจของผู้ประกอบการและ หัวหน้าหน่วยงานรัฐบาลต่อผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอุตรดิตถ์เทคโนโลยี นางรัตดา บัวใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา นวัตกรรมผ้ายืดมหัศจรรย์
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
รายงานการวิจัย การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจที่พัก
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ผู้วิจัย นางสาววริศรา ไชยโย ผู้วิจัย การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เอกชน ประเภทอาชีวศึกษา (Development of a Training Package.
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 ผ่านการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ ชื่อผู้วิจัย : นางสาวยุพารัตน์
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY Effects of traditional Thai massage versus joint mobilization on substance P and pain perception in patients with nonspecific low back pain

เสนอโดย นายสามารถ บัวดี นายธวัชชัย สุวรรณโท นางสาวอัญชลี โอฬารเสถียร

ผลของการนวดไทยเทียบกับการเคลื่อนไหวข้อต่อที่มีผลต่อ substance P และการรับความรู้สึกเจ็บปวดในผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างแบบไม่เฉพาะเจาะจง วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อดูผลของการนวดไทยเปรียบเทียบกับการเคลื่อนไหวข้อแบบชาวตะวันตก ที่มีผลต่อระดับความเจ็บปวด

สมมุติฐาน การนวดไทยจะลดความเจ็บปวดได้มากกว่าการเคลื่อนไหวข้อต่อในผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างแบบไม่เฉพาะเจาะจง วิธีการศึกษา ทำการสุ่มออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มที่ควบคุมโดย หน่วยกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย และมีสภาจริยธรรมของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นผู้อนุมัติขั้นตอนการวิจัย

ผู้เข้าร่วมงานวิจัย -จำนวน 67คน นวดไทย 35 คน เคลื่อนไหวข้อ 32 คน -20-60 ปี -ปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังมากกว่า 12 สัปดาห์

ผู้ป่วยที่ถูกคัดออก -menstruation -pregnancy -body temp>35 C -acute trauma -back surgery -spinal fracture -joint subluxation/instability

Inflammatory joint disease(RA/GOUT) Muscle disease Malignancy or infection Neurologic deficits MS Hemi/Para paresis Myelopathy Skin disease/infectious disease(TB or AIDS)

วิธีการทดลอง ช่วงที่1การหาช่วงเวลาของการตอบสนองของ Substance P ซึ่งทำโดย -ผู้ป่วย 10 คน (TTM 5 คน, Mobilization 5 คน) -TTM 10 นาที ,Mobilization gr.2 5นาที/เซต ทำ 2 เซต, ตั้งแต่ระดับ L2-L5 -ตรวจหา Substance P จากน้ำลาย

สรุป -Substance P จะเปลี่ยนแปลงภายใน 5 นาที หลังจากการรักษา -กลับสู่ค่ามาตรฐาน 10 นาทีหลังจากการรักษา -ดังนั้นน้ำลายจะถูกเก็บก่อนและหลังการรักษา 5 นาที ซึ่งเป็นค่าที่ถูกต้องในการนำไปประเมินในส่วนที่ 2 ของการทดลองต่อไป

ส่วนที่ 2 -visual analog scale ก่อนและหลังการรักษา 5 นาที วัดในทั้งสองกลุ่ม -วัด Substance P ในน้ำลาย การวิเคราะห์สถิติ -Pair t-test -ANCOVA

Mobilization points

Massage points

อภิปราย -เป็นการศึกษาประสิทธิภาพของการนวดไทยเทียบกับการเคลื่อนไหวข้อต่อ ต่อความเจ็บปวด ในผู้ป่วยที่ปวดหลังแบบไม่เฉพาะเจาะจง -ทั้งสองวิธีนี้เป็นการลดปวดได้ชั่วคราว -ระดับของ Substance P ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทั้งสองกลุ่ม -VAS ในกลุ่มนวดไทยจะต่ำกว่ากลุ่มการเคลื่อนไหวข้อต่อเล็กน้อย -ผลการศึกษาสนับสนุนสมมุติฐาน

สรุป -การทดลองของทั้งสองกลุ่มนี้สามารถลดปวดได้ชั่วคราว ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังแบบไม่เฉพาะเจาะจง -ผลของการนวดไทยจะมีประสิทธิภาพมากกว่าการเคลื่อนไหวข้อต่อ