งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน

2 ที่มาและความสำคัญของปัญหา
การปฏิรูปการศึกษา การจัดการเรียนรู้สำหรับอาชีวศึกษา ทฤษฎีการสอนแบบคอนสตรัคติวิส กระบวนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) กระบวนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (IBL) คุณลักษณะพื้นฐานของผู้เรียนอาชีวศึกษา

3 วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานในมิติด้านบทบาทผู้สอน

4 เครื่องมือ โจทย์ปัญหาพร้อมใบงาน วิชาคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ เรื่อง การใช้โปรแกรมสำนักงาน (MS Excel) จำนวน 4 ปัญหา หาค่าความเชื่อมั่นด้วยวิธีการ Test-retest reliabilty ห่างกัน 4 สัปดาห์ แล้วนำมาหาค่าสหสัมพันธ์ (Pearson product-moment correlation coefficient) พบว่าทั้ง 4 สถานการณ์ปัญหามีค่าสหสัมพันธ์มากกว่า .5 วิ่งเข้าหา 1 แสดงว่ามีความเชื่อมั่นสามารถนำไปใช้ในการทดสอบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ได้ (ปัญหา 1: r = 8.70, n = 38, p < 0.01; ปัญหา 2: r = 9.30, n = 42, p < 0.01; ปัญหา 3: r = 9.48, n = 35, p < 0.01; และ ปัญหา 4: r = 9.45, n = 34, p < 0.01)

5 เครื่องมือ แบบประเมิน 4 ชุด
หาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้ผู้ประเมินสองคน (inter-observer reliability) พบว่าแบบประเมินทั้ง 4 แบบมีค่าสหสัมพันธ์มากกว่า .5 วิ่งเข้าหา 1 แสดงว่ามีความเชื่อมั่นสามารถนำไปใช้ในการทดสอบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ได้ (แบบประเมิน 1: r =9.64, n =38, p < 0.01; แบบประเมิน 2: r = 9.85, n = 42, p < 0.01; แบบประเมิน 3: r = 9.78, n = 35, p < 0.01; และ แบบประเมิน 4: r = 9.83, n = 34, p < 0.01)

6 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มทดลอง เป็นกลุ่มที่เรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนรู้แบบ PBL โดยปรับบทบาทผู้สอนตามรูปแบบการเรียนรู้แบบ IBL จำนวน 73 คน กลุ่มควบคุม เป็นกลุ่มที่เรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนรู้แบบ PBL จำนวน 68 คน

7 ขั้นตอนการทดลอง ทดสอบก่อนเรียน ผู้เรียนทั้งสองกลุ่ม แล้วนำคะแนนมาหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำเปรียบเทียบกันโดยใช้สถิติ Independent Samples t-test ผลการเปรียบเทียบพบว่า ค่า p-value มีค่าสูงกว่า .05 ซึ่งหมายความผู้เรียนทั้งสองกลุ่มมีความรู้ไม่แตกต่างกัน ผู้เรียนทั้งสองกลุ่มเรียนด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่ต่างกัน ทดสอบหลังเรียนทันที แล้วนำคะแนนมาหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำเปรียบเทียบกันโดยใช้สถิติ Independent Samples t-test

8 ผลการทดลอง ผู้เรียน n M SD F t df กลุ่มทดลอง 73 7.7945 2.44358 .042
3.874*** 139 กลุ่มควบคุม 68 6.1765 ค่าเฉลี่ยของผู้เรียนทั้งสองกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t (139) = 3.874, p < .001) โดยค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนกลุ่มทดลอง (M = , SD = ) สูงว่าผู้เรียนกลุ่มควบคุม (M = , SD = ) แสดงว่าการปรับบทบาทของผู้สอนตามรูปแบบการเรียนรู้ IBL ในการจัดการเรียนรู้แบบ PBL มีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนอาชีวศึกษา

9 อภิปรายผลการวิจัย ผู้เรียนไม่คุ้นเคยกับการเรียนรู้แบบ PBL ขาดทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนขาดทิศทางการเรียนรู้ที่ชัดเจน จึงแก้ปัญหาไม่ค่อยได้ ผู้สอนจึงต้องมีบทบาทดูแล กระตุ้นการเรียนรู้อย่างใกล้ชิด โดยใช้คำถาม หรือใบงาน ที่ต้องการคำตอบสั้น ๆ เป็นการนำทางการเรียนรู้

10 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google