ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชานวัตกรรมและการจัดการเทคโนโลยี
รหัส หลักการตลาด.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
ระบบการบริหารการตลาด
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การบริโภคอย่างอย่างสร้างสรรค์ รู้เท่าทัน และการใช้เวลาว่าง
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การกำหนดกลยุทธ์การตลาด
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ประเด็นด้านจริยธรรมในการใช้ข้อมูล ข่าวสาร
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการตัดสินใจ
การเขียนโครงการ.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การจูงใจ (Motivation)
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
Computer Application in Customer Relationship Management
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
"การบริหารจัดการ ธุรกิจสินเชื่อสหกรณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
Change Management.
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
การออกแบบ DESIGN. การออกแบบ (Design) หมายถึง การถ่ายทอดรูปแบบจาก ความคิดออกมาเป็นผลงาน ที่ผู้อื่น สามารถมองเห็น รับรู้ หรือสัมผัสได้ เพื่อให้มีความเข้าใจในผลงานร่วมกัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้ โดย บรรพต พิจิตรกำเนิด

ความหมายของคำว่า “พฤติกรรม” , “พฤติกรรมผู้บริโภค” การกระทำ หรือ อาการที่แสดงออกทางกล้ามเนื้อ ความคิด และความรู้สึก เพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า (พจนานุกรม 2552) กิจกรรมต่าง ๆ ที่บุคคลกระทำเพื่อให้ได้สินค้า หรือบริการ กระบวนการตัดสินใจ และกิจกรรมทางกายภาพที่บุคคลเข้าไปเกี่ยวข้องเมื่อมีการประเมินการได้มา การใช้ หรือการซื้อสินค้าและบริการ (Loudon & Bitta) กิจกรรมต่าง ๆ ที่บุคคลกระทำเมื่อได้รับ บริโภคสินค้า และจัดการกับผลิตภัณฑ์ ตลอดจนบริการต่าง ๆ ที่ได้รับ (Blackwell)

การได้รับมา การบริโภค การจัดการ ผู้ใช้ สารสนเทศ แนวคิดของ Blackwell การได้รับมา ๐ ผู้ใช้จัดหาผลิตภัณฑ์มาด้วยวิธีใด? ๐ ผู้ใช้ชำระเงินด้วยวิธีการใด? ๐ ผู้ใช้ได้รับผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีการใด? ๐ รูปแบบผลิตภัณฑ์เป็นแบบใด? การบริโภค ๐ ผู้ใช้ทำการใช้ผลิตภัณฑ์นั้นอย่างไร? ๐ การใช้ผลิตภัณฑ์เกิดขึ้น ณ ที่ใด? ๐ วิธีการใช้ผลิตภัณฑ์นั้นๆ เป็นไปตามคำแนะนำการใช้งานที่มีมาพร้อมผลิตภัณฑ์อย่างครบถ้วนหรือไม่? ๐ ผลการใช้ผลิตภัณฑ์เป็นที่น่าพอใจหรือไม่? การจัดการ ๐ ผู้ใช้มีวิธีการจัดการกับผลิตภัณฑ์ที่ได้รับมาอย่างไร? ๐ เพราะเหตุใดผู้ใช้จึงเลิกใช้ผลิตภัณฑ์นั้นๆ ไป? ๐ ผู้ใช้นำผลิตภัณฑ์ไปประยุกต์ใช้ หรือนำไปแปรรูปให้สามารถใช้ประโยชน์ได้หรือไม่? อย่างไร? ๐ ผู้ใช้ดำเนินการอย่างไรหลังจากใช้งานผลิตภัณฑ์? ผู้ใช้ สารสนเทศ

ลักษณะของผู้ใช้ บุคคลที่มีความสามารถในการซื้อ (ability to buy) โดยผู้ใช้จะต้องมีความเต็มใจในการซื้อ (willingness to buy) สินค้าหรือบริการ ปัญหาอย่างหนึ่งที่มักพบเห็นได้ คือ ผู้ใช้จัดหาสารสนเทศโดยไม่มีเป้าหมายที่ชัดเจน ทำให้การได้รับสารสนเทศไปนั้นไม่ตรงต่อความต้องการ ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ผู้ใช้เองก็จำเป็นต้องเป็นนักวางแผนในการจัดหาสารสนเทศ มักจะเกิดกับผู้ใช้ที่มีความจำเป็นต้องใช้สารสนเทศที่มีลักษณะเฉพาะตัว มีความจำเป็นโดยตรงต่องานที่รับผิดชอบ

ผู้ใช้คือใคร ??? ผู้ใช้บริการภายในองค์การ ? ผู้ใช้บริการภายนอกองค์การ

ผู้ใช้ในทาง “การตลาด” ผู้ใช้ที่ยังไม่ใช่ผู้ใช้แท้จริง – ไม่มีความต้องการในสินค้า ไม่ซื้อสินค้าแน่นอน ผู้ใช้ที่มีศักยภาพ – ไม่มีความต้องการในสินค้า แต่อาจซื้อสินค้าเมื่อมีแรงจูงใจ ผู้ใช้ที่แท้จริง – มีความต้องการในสินค้า อย่างไรก็ซื้อ

สิ่งที่ควรพิจารณาจากของพฤติกรรมผู้ใช้ หมายถึง ลักษณะเบื้องต้นของผู้ใช้ที่ส่งผลต่อการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมต่าง ๆ พฤติกรรมผู้ใช้เกิดจากแรงจูงใจ – มาจากความต้องการภายในแต่ละบุคคล และสิ่งเร้าจากภายนอก มาบรรจบกันในเวลาที่เหมาะสม พฤติกรรมผู้ใช้จะแสดงออกด้วยกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดขึ้น – การแสวงหาข้อมูลเพิ่ม (ถามเพื่อน หาข้อมูลทางเน็ต สอบถามจากร้านค้า ฯลฯ) พฤติกรรมผู้ใช้เป็นกระบวนการ - ก่อนซื้อ ขณะที่ซื้อ หลังซื้อ พฤติกรรมผู้ใช้มีความแตกต่างกันในเรื่องเวลา และความสลับซับซ้อน - ช่วงเวลาที่ต่างกันมีผลต่อพฤติกรรมที่แตกต่างกันออกไป

สิ่งที่ควรพิจารณาจากของพฤติกรรมผู้ใช้ พฤติกรรมผู้ใช้เกี่ยวข้องกับกลุ่มคนต่าง ๆ มากมาย – มีกลุ่มคนมากมายที่มีความเกี่ยวข้อง และส่งผลต่อพฤติกรรม (เพื่อน พ่อ-แม่ ผู้จำหน่าย ผู้ผลิต ฯลฯ) พฤติกรรมผู้ใช้ได้รับอิทธิพลจากภาวะแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก – การตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ่ง มีผลมาจากสิ่งแวดล้อมรอบตัว พฤติกรรมผู้ใช้แต่ละคนมีความแตกต่างกัน - ปัจจัยเรื่อง เพศ อายุ การศึกษา มีผลต่อพฤติกรรมที่แตกต่างกัน

ทำไมต้องศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้ เสริมคุณค่าให้แก่เรา ในฐานะที่เราก็เป็นผู้ใช้คนหนึ่ง ในบางสถานการณ์ ในฐานะเป็นผู้ผลิตสารสนเทศ หรือผู้ให้บริการ จำเป็นต้องเข้าใจบุคคลอื่น เข้าใจปัญหา และนำไปสู่การพัฒนาสิ่งใหม่ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างเหมาะสม ในฐานะเป็นผู้บริหาร จำเป็นต้องเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้ เพื่อนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบาย และกลยุทธ์ในการทำธุรกิจ