ข้อมูลมีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ความแตกต่างคงจะเป็นเรื่องของปริมาณ คุณภาพ ประเภท และการใช้ข้อมูล 1. ในแง่ปริมาณ ปริมาณน่าจะเพิ่มใน อัตราเร่งรัดจนเกิดสภาพที่ที่เรียกว่า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management ; KM
Advertisements

รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา
Priciples of Marketing
Lesson 10 Controlling.
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์.
บทที่ 13 การผลิตแบบทันเวลาพอดี
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
สรุปข้อดีข้อเสีย Proprietary VS Off-the-shelf Software
Logistics Logistics เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนย้ายและการเก็บวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดกำเนิด.
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
Accounting In Action Credit Card
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
Certo, S.C. กล่าวว่า การประเมิน ข่าวสาร คือ กระบวนการกำหนดว่า การได้มาซึ่งข่าวสารนั้นเป็นเรื่องที่ชอบ ด้วยเหตุผล (justified) ซึ่งฝ่ายจัดการ มักจะเน้นในแง่คุณค่าในแง่ตัวเงิน.
ในอดีตการเข้าถึงแหล่งข้อมูล ข่าวสาร และการใช้น่าจะเป็นเรื่องที่ ยาก หรืออาจจะไม่จำเป็นต้องเข้าถึง เลย เพราะวิถีชีวิตเป็นเรื่องง่าย ๆ และ เป็นประจำ จนถึงยุคที่การทำงานเป็น.
มีลักษณะ 5 ประการที่ผู้ใช้ข้อมูล ข่าวสารควรได้เรียนรู้ 1. ความสามารถที่จำแนกและลด ข่าวสารที่เข้ามาอย่าง รวดเร็ว ว่าจะรับหรือปฏิเสธ 2. ลึกลงไปใต้หลักฐาน.
- เป็นข้อมูลในรูปตัวเลข อักษรและลักษณะอื่นๆ
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
ตัวอย่างสรุปข้อมูลผลงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
เมนูเรื่องเทคโนโลยี.
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
เงินรายได้สถานศึกษา หมายความว่า บรรดารายได้ที่เกิดจาก
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
บทที่ 3 Planning.
เรื่องเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
Functional Level Strategy
บทที่ 4 การวางแผนการตลาดและแผนการขาย
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ซอฟแวร์ประยุกต์.
จอห์น ซี แม็คเวล (John C Maxwell) กล่าวว่า
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
ประเทศไทยจะผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ที่มีคุณภาพ, มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีมูลค่าส่งออกมากกว่า 4 แสนล้านบาทต่อปี
การจัดการฐานข้อมูล.
Information Technology : IT
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยทำให้การบริการสะดวกขึ้น
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
ชิ้นงานที่1 ชื่อ นางสาวจรรยา พุฒเจริญ
Data Mining การทำเหมืองข้อมูล
การวัดการวิจัยในการตลาด
Change Management.
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
จัดทำโดย ด. ช. สินชัย พรมสินชัย เลขที่ 3 ม.1/2 ด. ญ. ภาณุมาศ ไชยวงค์ เลขที่ 14 ม.1/2.
Creative Accounting
Chapter VII ทรัพยากรของผู้บริโภค และความรู้. n เพื่อศึกษาถึงประเภทของทรัพยากร ของผู้บริโภค n เพื่อทราบและทำความเข้าใจถึงประเภท ของความรู้ของผู้บริโภค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลมีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ความแตกต่างคงจะเป็นเรื่องของปริมาณ คุณภาพ ประเภท และการใช้ข้อมูล 1. ในแง่ปริมาณ ปริมาณน่าจะเพิ่มใน อัตราเร่งรัดจนเกิดสภาพที่ที่เรียกว่า การ - ระเบิดของข่าวสาร ทั้งนี้เกิดจาก 1) ค่าใช้จ่ายในการรวบรวมจัดเก็บและการ ประมวลผลถูกลง 2) ข้อมูลจำนวนมากหามาได้โดยไม่ต้อง เสียค่าใช้จ่าย 3) สามารถหาซื้อได้เป็นจำนวนมาก

2. ในแง่คุณภาพข้อมูล เป็นที่ ยอมรับว่ามีคุณค่าการตรวจสอบความ ถูกต้อง (verification) และตรวจสอบ ความใช้ได้ (Validation) 3. ประเภทข้อมูล ข้อมูลมีหลาย ประเภทมากขึ้นดังที่ได้กล่าวไว้ในข้อที่ 3 4. การใช้ข้อมูล ข้อมูลได้ กลายเป็นทรัพยากรกลยุทธ์ (strategic resource) ที่สำคัญในการดำเนินกิจการ ต่างๆ

ถ้าวิเคราะห์ค่าของข่าวสารในแง่ของ หนี้หรือสิ่งที่จะต้องจ่าย (liability) กับสิ่งที่ เป็นสินทรัพย์ (Asset) 1. ยุคก่อนอุตสาหกรรม ข้อมูล ข่าวสารก็คงจะมีคุณค่าที่ต่ำทั้งในงาสิ่งที่ ต้องจ่าย เพราะสามารถหาได้จากแหล่ง ต่างๆ ในแง่ของผู้ที่มีข้อมูล ข่าวสารก็คง ทำให้เป็นเงินเป็นทองไม่ได้มากนัก เพราะฉะนั้นในยุคนี้จะเรียกว่า “Low Liability and Low Asset” 2. ยุคอุตสาหกรรม ในยุคนี้ผู้คนมา ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม สำนักงาน ขึ้น จึงจำเป็นที่จะต้องเก็บหลักฐานต่าง ๆ ในการทำงาน ในระยะแรก ๆ องค์การ ต้องจ่ายเงิน

เพื่อจ้างบุคลากรดูแลงาน ซึ่งก็ หมายความว่าค่าใช้จ่ายเพิ่ม ข้อมูล ข่าวสารเริ่มแพงขึ้น เพราะฉะนั้นในยุค เริ่มต้นก็น่าจะเรียกได้ว่าเป็น “High Liability But Low Asset” 3. ยุคข่าวสาร ซึ่งเป็นยุคที่ คอมพิวเตอร์พัฒนาอยู่ในระดับมีวุฒิ ภาวะแล้ว องค์การได้ใช้ประโยชน์จาก คอมพิวเตอร์ได้อย่างกว้างขวาง คุณค่า ของข้อมูลข่าวสารเปลี่ยนเป็น “Low Liability But High Asset”