ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
การเขียนบทความ.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
กระบวนการวิจัย(Research Process)
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
หลักการพัฒนา หลักสูตร
Seminar in computer Science
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Management Information Systems
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การเขียนรายงานการวิจัย
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
แนวคิดในการทำวิจัย.
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
หลักการเขียนโครงการ.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนโครงการ.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

01134491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด 01134491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด Basic Research Methods in Marketing เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ คณะวิทยาการจัดการ

01134491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด 01134491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด Basic Research Methods in Marketing เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ คณะวิทยาการจัดการ เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ คณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 4 : 27-มิ.ย.-54

: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : หัวข้อและความสำคัญของปัญหา

การกำหนดหัวข้อการวิจัย หลักการกำหนดหัวข้อการวิจัย (Research Topic) การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยเป็นการคาดหวังจาก ผลการศึกษาและค้นคว้าข้อเท็จเกี่ยวกับปรากฏการณ์และ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามที่ประเด็นสาระในปัญหาการวิจัย (Research Questions) ซึ่งจะถูกนำมาเป็นแนวทางการ แสวงหาคำตอบ ผลการวิจัยต้องตอบสนองวัตถุประสงค์ การวิจัยทั้งหมด ลักษณะวัตถุประสงค์การวิจัย : - สอดคล้องกับปัญหาการวิจัย - ความชัดเจน - ความเฉพาะเจาจง

การกำหนดประเด็นปัญหาการวิจัย ความสำคัญของปัญหาการวิจัย 1. ปัญหาการวิจัยแต่ละปัญหาจะมีตัวแปร (variables) ที่เปลี่ยนแปลงตามบุคคล เวลาและสถานที่ 2. ข้อเท็จจริงของปัญหาการวิจัยเป็นความจริงเชิง สัมพันธ์ (relative truth) ไม่ใช่ความจริงเชิงสมบูรณ์ (absolute truth) 3. ข้อสรุปทั่วไป แนวคิด ทฤษฎีและกฎต่างๆ ต้องการ การยืนยัน (confirm) และตรวจสอบ (verify)

หลักเกณฑ์ในการกำหนดประเด็น ความชัดเจนของประเด็น ความไม่ซ้ำซ้อนของประเด็นที่จะวิจัย ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็น

ประโยชน์ของการกำหนดประเด็น ทำให้ผู้วิจัยเกิดความชัดเจนว่าต้องการศึกษาในเรื่องอะไรบ้างเกี่ยวกับหัวข้อนั้นๆ ทำให้ผู้วิจัยทราบว่าจะต้องเก็บข้อมูลที่สำคัญในเรื่องอะไรบ้าง ทำให้ผู้อ่านรายงานผลของการวิจัย สามารถติดตามและประเมินผลของการวิจัยได้

การกำหนดหัวข้อการวิจัย กระบวนการต่างๆ ที่ใช้ในการระบุให้ชัดเจนว่า ผู้ที่จะ ทำการวิจัย หรือผู้วิจัยมีความประสงค์จะศึกษาเรื่องอะไร ที่มาของหัวข้อสำหรับการวิจัย ผู้ที่จะทำการวิจัย วรรณกรรมในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ผู้นำทางวิชาการ แหล่งทุนอุดหนุนการวิจัย หน่วยที่ผู้วิจัยทำอยู่

การกำหนดหัวข้อจากมิติต่างๆ สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ลักษณะของการเก็บข้อมูล ประชากรเป้าหมายหรือสถานที่ การกำหนดประเด็นสาระสำคัญ การผสมผสานหลายประการ

หลักเกณฑ์การเลือกหัวข้อ ความสำคัญของปัญหา ความเป็นไปได้ ความน่าสนใจและการทันต่อเหตุการณ์ ความสนใจของผู้ที่จะวิจัย ความสามารถที่จะทำให้ลุล่วง

การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย หลักเกณฑ์การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย 1. การเขียนให้สั้น กระชับและใช้ภาษาง่าย (วิชาการ) 2. ประเด็นปัญหาชัดเจน ศึกษาอะไร แง่มุมใดและอยู่ ภายในกรอบหัวข้อเรื่อง 3. วัตถุประสงค์ที่กำหนดต้องสามารถศึกษาหาคำตอบ 4. ประโยคที่ใช้เป็นประโยคบอกเล่า ไม่น่าเกิน 5 ข้อ : 4.1 ข้อเดียวเป็นภาพรวม (Overall Objective) 4.2 หลายข้อแยกรายข้อ (Specific Objectives) 5. การเรียงลำดับตามความสำคัญของปัญหา/ระดับ ปัญหา รวมทั้งไม่ควรนำประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ/ ข้อเสนอแนะเป็นวัตถุประสงค์

นิยามศัพท์เป็นการสร้างความเข้าใจและสื่อความหมาย การนิยามศัพท์ การนิยามศัพท์ (Definition of Terms) นิยามศัพท์เป็นการสร้างความเข้าใจและสื่อความหมาย ให้ผู้วิจัยกับผู้อ่านงานวิจัยเกิดความเข้าใจตรงกันและขยาย ความหมายให้สามารถตรวจวัดหรือสังเกตได้ ศัพท์ที่นิยามจะใช้เฉพาะในการศึกษาวิจัยและเจาะจง ในเรื่องนั้นๆ เท่านั้น ไม่ได้มีความหมายทั่วไปอย่างหนังสือ ตำราหรือเอกสารทั่วไป ส่วนใหญ่นิยามตัวแปรและคำศัพท์ ที่เกี่ยวข้องการวิจัย ประเภทการนิยามศัพท์ 1.ศัพท์ทางวิชาการ 2.ศัพท์หลายความหมาย 3.ศัพท์ความหมายไม่แน่นอน 4.ศัพท์วลีข้อความยาว

ประเภทคำศัพท์ที่ต้องนิยาม ศัพท์ทางวิชาการ ศัพท์ทางวิชาการ (Technical Term) เป็นคำศัพท์ที่รู้/ เข้าใจกันเฉพาะในวงวิชาการนั้นๆ ต่างวงการ/ต่างอาชีพ อาจจะไม่เข้าใจ : วิภาษวิธี ส่วนประสมทางการตลาด ความได้เปรียบเชิงการ แข่งขัน ประสิทธิภาพ หรือการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ ศัพท์หลายความหมาย เป็นคำศัพท์ที่เหมือนกันแต่หลายความหมายขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อมหรือบริบท (Context) หรือสถานการณ์ที่ใช้ คำนั้น จึงต้องนิยามระบุให้ชัดเจน : นิสิตนักศึกษา อาจเป็นนิสิต ม.ก. ม.ธ. จุฬา ม.ร. หรือ ม.ข. นักท่องเที่ยว อาจเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยหรือต่างประเทศ

ประเภทคำศัพท์ที่ต้องนิยาม ศัพท์ความหมายไม่แน่นอน เป็นคำศัพท์ที่สามารถสร้างความรู้และความเข้าใจให้ เกิดความแตกต่างกัน โดยขึ้นกับความรู้และความเข้าใจของ แต่ละบุคคล : ค่านิยม ความคิดเห็น ท้ศนคติ ความเชื่อ หรือ ศักยภาพ ศัพท์วลีข้อความยาว เป็นข้อความคำศัพท์ที่เชื่อมต่อด้วยคำหรือขยายความ ทำให้เกิดความหมายเฉพาะเจาะจง โดยเป็นข้อความหรือคำ ที่มีความยาวมาก หากใช้ข้อความนั้นเขียนในรายงานผล การวิจัยจะทำให้เกิดความซ้ำซ้อนกันมาก อาจทำให้ผู้อ่าน สบสน :

ประเภทคำศัพท์ที่ต้องนิยาม ศัพท์วลีข้อความยาว - พฤติกรรมการใช้บริการห้างสรรพสินค้าในเขตเมือง - ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศ ที่มีต่อการให้บริการร้านจำหน่ายอาหาร - ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของนิสิตคณะวิทยาการจัดการ นิยาม - พฤติกรรมการใช้บริการ - ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว - ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

วิธีการนิยามคำศัพท์ การนิยามศัพท์ จะเป็นการให้ความหมายอธิบายว่าคำ หรือข้อความนั้น คืออะไร (Refer To) ไม่ใช่หมายถึงแปลว่าอะไร (Meaning) 1. การนิยามศัพท์เชิงแนวความคิด (Conceptual Definition) เป็นการให้ความหมายแบบสรุปใจความสำคัญ โดยใช้คำหรือข้อความอื่นที่เป็นแนวความคิดมาให้ ความหมายของคำศัพท์ : “การวิจัย” หมายถึง การค้นคว้าหาข้อเท็จจริงอย่างเป็นระบบ ระเบียบโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์

วิธีการนิยามคำศัพท์ การนิยามศัพท์ 2. การนิยามศัพท์เชิงทฤษฎี (Constitutive Definition) เป็นการให้ความหมายคำศัพท์ตามทฤษฎี/ พจนานุกรม อธิบายลักษณะอาการที่ทำให้เกิดคำศัพท์นั้นๆ “การวิจัย” หมายถึง การดำเนินการค้นคว้าซ้ำๆ เพื่อหา ข้อเท็จจริงอย่างมีเหตุผล

วิธีการนิยามคำศัพท์ การนิยามศัพท์ 3. การนิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ (Operational Definition) เป็นการให้ความหมายคำศัพท์ที่ระบุ บอก การ กระทำ พฤติกรรม/อาการคำศัพท์นั้นเพื่อใช้วัด/สังเกตได้ “การวิจัย” หมายถึง การตั้งประเด็นปัญหา สมมติฐาน การเก็บ รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และสรุปผลวิจัย “เรียนดี” หมายถึง นิสิตที่มีผลคะแนนเฉลี่ยสะสมมากกว่า 2.5