กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โชคชัย บุตรครุธ
1. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข 2535 พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง 2535
1. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัติการประมง 2490 พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ 2507 พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า 2535
2. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กล่าวถึงบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฯ ในมาตราที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังนี้
2. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.1 สิทธิและเสรีภาพของประชาชน มาตรา 46 กำหนดให้ประชาชนที่รวมกันเป็นชุมชนหรือท้องถิ่นมีสิทธิ์ที่จะอนุรักษ์หรือฟื้นฟู และมีส่วนร่วมในการจัดการ บำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
2. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.2 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย มาตรา 69 กำหนดให้บุคคลมีหน้าที่ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.3 แนวนโยบายพื้นฐานของรัฐ มาตรา 79 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสงวน บำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ และคุณภาพของสิ่งแวดล้อม ตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน
2. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.4 การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา 290 กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น เมืองพัทยา เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ฯลฯ มีอำนาจจัดการ บำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในเขตพื้นที่การปกครองของตน
3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 สาระสำคัญของกฎหมายสิ่งแวดล้อมฉบับนี้ สรุปได้ดังนี้ 3.1 วัตถุประสงค์ของกฎหมายฉบับนี้ คือ สนับสนุนให้ประชาชน และองค์กรของภาพเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมจัดการสิ่งแวดล้อม ประการสำคัญ กฎหมายฉบับนี้นำหลักการสากลที่ว่า “ผู้ใดก่อให้เกิดภาวะมลพิษผู้นั้นต้องรับผิดชอบค่าเสียค่าใช้จ่าย”
3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 3.2 สิทธิและหน้าที่ของประชาชนในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น (1) การรับทราบข้อมูลและข่าวสารของทางราชการเกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพของสิ่งแวดล้อม (2) การได้รับเงินชดเชยค่าเสียหายจากรัฐ ในกรณีที่ได้รับภัยอันตรายจากการแพร่กระจายของมลพิษต่าง ๆ จากโครงการที่ทางราชการหรือรัฐวิสาหกิจเป็นผู้ดำเนินการ
3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 3.3 การดำเนินการควบคุมและป้องกันมลพิษ หมายถึง มลพิษทางอากาศเสียง และมลพิษทางน้ำ 3.4 การกำหนดความผิดและโทษ (1) ผู้ใดบุกรุกหรือครอบครองที่ดินของรัฐโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือเข้าไปทำลายหรือทำให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพยากรธรรมชาติ หรือก่อให้เกิดมลพิษต่อคุณภาพของสิ่งแวดล้อม มีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 500,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 3.3 การดำเนินการควบคุมและป้องกันมลพิษ หมายถึง มลพิษทางอากาศเสียง และมลพิษทางน้ำ 3.4 การกำหนดความผิดและโทษ (2) ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งห้ามใช้ยานพาหนะที่ก่อให้เกิดมลพิษตามมาตรฐานที่กำหนด จะต้องมีโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือผู้ใดฝ่าฝืนไม่ยินยอมให้ตรวจยานพาหนะ มีโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ