อนุสัญญาไซเตส โชคชัย บุตรครุธ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Law on Natural Resource Management
Advertisements

อนุสัญญา CITES การตีความเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติมีผลกระทบอย่างมากต่อ ขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศ เกี่ยวพันอย่างสลับซับซ้อนกับมิติทางการพัฒนาเศรษฐกิจ.
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
องค์กรต่างประเทศที่มีบทบาทในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย โชคชัย บุตรครุธ.
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
บทปฏิบัติการ การฝึกอบรม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดขนาด จำนวน และคุณภาพของเครื่องดับเพลิงสำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) พ.ศ.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบแจ้งการเกิดอุบัติภัยร้ายแรง หรือการประสบอันตรายจากการทำงาน พ.ศ ลงวันที่ 19 กันยายน 2554.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การตอบข้อหารือเกี่ยวกับเคมีภัณฑ์/ผลิตภัณฑ์ที่อาจเป็นสารควบคุมตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีหน้าที่รับผิดชอบ.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง บัญชีรายชื่อสารเคมีอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 ธันวาคม 2556.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและการต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดให้โรงงานกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ.
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง มาตรการป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมสำหรับการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีว
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 เมษายน 2555.
ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและ การต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการวัตถุอันตรายชนิดที่ 2.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
การจัดการ องค์กร อาชญากรรม สัตว์ป่าและพืช ป่า กลุ่ม 4.
ภูมิหลังด้านทรัพยากรพันธุกรรม
International Environmental Law
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
6.ข้อจำกัดในการพัฒนาปศุสัตว์
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. ๒๕๕๐.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นโยบายการดำเนินงานที่สำคัญ ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในปีงบประมาณ พ.ศ.2558
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
เร่งรัดแก้ไขปัญหายาเสพติด และปราบปรามผู้มีอิทธิพล
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดให้โรงงานอุตสาหกรรมเคมี บางประเภทเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ เกี่ยวกับการแจ้งการดำเนินการ การขออนุญาต และการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ.
กฎกระทรวง ฉบับที่ 22 (พ. ศ. 2556) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ. ศ
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ 62/2555 เรื่อง การรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหาร จัดการความเสี่ยงตามที่กำหนดไว้ในรายงาน การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อนุสัญญาไซเตส โชคชัย บุตรครุธ

6. อนุสัญญาไซเตส อนุสัญญาไซเตส (CITES) หรืออนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชที่ใกล้จะสูญพันธุ์ เป็นผลจากการประชุมนานาชาติที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี สหรัฐอเมริกา

6. อนุสัญญาไซเตส 6.1 วัตถุประสงค์ของอนุสัญญาไซเตส คือ ควบคุมการค้าระหว่างประเทศเกี่ยวกับสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ เพื่อป้องกันมิให้มีการนำสัตว์ป่าหรือพืชป่ามาใช้ประโยชน์ในทางการค้าจนเป็นเหตุให้สูญพันธุ์ไปจากโลกได้

6. อนุสัญญาไซเตส 6.2 มาตรการดำเนินการ เช่น ออกใบอนุญาตในการนำเข้าและส่งออก หรือจัดทำบัญชีรายชื่อชนิดของสัตว์ป่าหรือพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ เพื่อห้ามส่งออกหรือนำเข้าระหว่างประเทศ เป็นต้น 6.3 ประเทศที่ให้สัตยาบันในอนุสัญญาฯ มี 150 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย)

7. อนุสัญญาเวียนนาและพิธีสารมอนทรีออล อนุสัญญาเวียนนา(Vienna Convention) และพิธีสารมอนทรีออล(Montreal Protocol) เกิดจากการประชุมนานาชาติที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2528 และการประชุมที่เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา ในปี พ.ศ. 2530 โดยสหประชาชาติเป็นผู้ดำเนินการ

7. อนุสัญญาเวียนนาและพิธีสารมอนทรีออล 7.1 วัตถุประสงค์ เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศเพื่อแก้ไขปัญหาชั้นโอโซนของโลกถูกทำลาย ซึ่งเกิดจากการใช้สารทำลายชั้นโอโซนในวงการอุตสาหกรรม เช่นสาร CFC สารฮาลอน(Halon) และสารเมทิลโบรไมด์ เป็นต้น  7.2 ประทศที่ให้สัตยาบันในอนุสัญญาฯ มี 176 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย)

8. อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) เกิดจากสหประชาชาติได้จัดให้มีการประชุมเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา ณ กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล

8. อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 8.1 วัตถุประสงค์ เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศ เพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการกระทำของมนุษย์ มิให้มากจนถึงระดับที่เกิดอันตรายต่อชั้นบรรยากาศของโลก 8.2 ประเทศที่ให้สัตยาบันในอนุสัญญาฯ มี 184 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย)

9. อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (BDC) เป็นผลการประชุมว่าด้วยเรื่องสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา ซึ่งสหประชาชาติเป็นผู้จัดดำเนินการ ณ กรุงริโอ เดอจาเนโร ประเทศบราซิล เมื่อ พ.ศ. 2535

9. อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ 9.1 วัตถุประสงค์ เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศ เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน และการแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากพันธุกรรม

9. อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ 9.2 ประเทศที่ให้สัตยาบันในอนุสัญญาฯนี้ มี 178 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย) 9.3 การดำเนินงานขอประเทศไทยตามอนุสัญญาฯ ได้แก่ จัดทำนโยบายอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน จัดตั้งและอนุรักษ์เขตอุทยานแห่งชาติ และโครงการพัฒนาป่าชุมชน เป็นต้น

10. อนุสัญญาบาเซิล หรืออนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน 10.1 ความเป็นมา อนุสัญญาบาเซิล (Basel Convention) เกิดจากความคิดริเริ่มของสหประชาชาติที่จะแก้ไขปัญหาการถ่ายเทกากของเสียอันตรายจากประเทสอุตสาหกรรมที่พัฒนาแล้วไปสู่ประเทศที่กำลังพัฒนา ประเทศสมาชิกร่วมลงนามรับหลักการในการประชุมที่เมืองบาเซิล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2532

10. อนุสัญญาบาเซิล หรืออนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน 10.2 วัตถุประสงค์ เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศเพื่อควบคุมการขนส่งสารเคมีอันตรายข้ามพรมแดน และควบคุมการกำจัดกากของเสียอันตรายโดยผลักดันจากประเทศอื่น ๆ อย่างผิดกฎหมาย เพื่อป้องกันมิให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

ทั้งนี้ หากมีการขนส่งโดยผิดกฎหมาย โดยแจ้งความเท็จ หรือปกปิด ซ่อนเร้น หรือปฏิบัติไม่ถูกต้องตามสัญญา จะต้องนำกลับหรือถูกส่งกลับไปยังประเทศผู้ส่งออก หรือถ้าหากมีอุบัติภัยเกิดจากการรั่วไหลจากกากของเสีย อันตรายดังกล่าวจนเกิดผลเสียหายต่อสภาพแวดล้อม ผู้กระทำผิด (ภาคเอกชน) จะต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ประเทศนั้น ๆ