กลยุทธ์การพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิต ภายใต้กรอบประชาคมอาเซียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความต้องการกำลังคนสาขาระบบสมองกลฝังตัว
Advertisements

โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบบูรณาการ
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
แรงผลักดัน ความท้าทายและเส้นทางสู่ความสำเร็จ
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
เศรษฐกิจพอเพียง.
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต Master of Science (Mental Health) ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของหลักสูตร.
Master of Arts Program in Politics and Governance
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
มาตรฐานการศึกษา วีระ อุสาหะ.
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
Howard Gardner “Five minds for the Future”
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ONE VISION, ONE IDENTITY, ONE COMMUNITY
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
พลังชุมชน สู่สุขภาพดีในยุคประชาคมอาเซียน : บทบาทสถานศึกษา
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โอกาส ผลกระทบ และมาตรการรองรับ
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
“AEC : อนาคต พืช ผัก ผลไม้ไทย”
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การเสนอผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการอบรมหลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารระดับสูง มหาวิทยาลัย ( นบม.) รุ่นที่ 17 “ จุดเด่นและข้อจำกัดของ สถาบันอุดมศึกษาไทย ” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. วีระศักดิ์
ครั้งที่ ๒.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
ฝ่ายบริหารงานวิชาการ. วิสัยทัศน์ “ เราจะผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่ เปี่ยมด้วยคุณธรรม มีสมรรถนะ วิชาชีพ บนพื้นฐานแห่งองค์กร สร้างสุข เพื่อเป็นบุคลากรทีมี
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลยุทธ์การพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิต ภายใต้กรอบประชาคมอาเซียน จัดโดย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ณ โรงแรมพาวิลเลียน ควีนเบย์ อ่าวนาง จ. กระบี่ วันจันทร์ 19 มีนาคม พ.ศ. 2555 เวลา 10.00 - 12.00 น. ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

เกริ่นนำ ปี 2558 อาเซียนต้องเผชิญกับความท้าทายครั้งสำคัญ คือ การรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC มหาวิทยาลัยต้องเตรียมพร้อมรองรับ ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นอย่างเร่งด่วน ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

ผลิตและป้อนกำลังคนที่สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด สามารถแข่งขันในเวทีที่จะเปิดกว้างสู่ ระดับอาเซียนและระดับโลกได้มากขึ้น

หลักพื้นฐานการศึกษาสร้างคน 9 ประการ Philosophy based Education Competency based Education Human based Education Economic based Education ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

ต่อ 5. Globalization based Education 6. Integration based Education 7. Politics based Education 8. Technology based Education 9. Culture based Education ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

ลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต ภายใต้กรอบประชาคมอาเซียน  ลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต ภายใต้กรอบประชาคมอาเซียน การศึกษาต้องสร้างบัณฑิต ดี เก่ง กล้า ดี มีมโนธรรม ดี – โดยจิตสำนึกและความคิด ดี – การกระทำ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

ต่อ เก่ง เก่ง - รู้ลึก รู้กว้าง รู้ไกล เก่ง – มีความสุข เก่ง – แข่งขันได้ระดับอาเซียนและ ระดับโลก ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

ต่อ กล้า - กล้าหาญชาญชัย กล้าแสดงจุดยืนทางความคิดที่ถูกต้อง กล้าแสดงออกเป็นการกระทำ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

โดยพัฒนาผู้เรียนให้มีลักษณะดังนี้ 1. เป็นสมองให้สังคมและประชาคมอาเซียน 1.1 รู้ลึก 1.2 รู้กว้าง 1.3. รู้ไกล ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

ต่อ 2. เป็นตาให้สังคมและประชาคมอาเซียน มองเห็นแนวโน้มอนาคต วิเคราะห์อดีต เข้าใจปัจจุบัน ชี้นำอนาคต 3. เป็นหูให้สังคมและประชาคมอาเซียน หูไว แต่ไม่ใช่หูเบา หูที่เปิดกว้าง - หูแนบพื้น ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

ต่อ 4. เป็นหัวใจให้สังคมและประชาคมอาเซียน มีมโนธรรม ชี้ถูก ชี้ผิด มีจุดยืน กล้าแสดงออกและทำในสิ่งที่ ถูกต้อง 5. เป็นปากให้สังคมและประชาคมอาเซียน พูดแทน สะท้อนปัญหา กระบอกเสียงเสนอทางออก ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

ต่อ 6. เป็นมือให้สังคมและประชาคมอาเซียน เชื่อมโยงทฤษฎีวิชาการสู่ภาคปฏิบัติ ไม่นั่งอยู่บนหอคอยงาช้าง ถลกแขนเสื้อทำจริง ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

มหาวิทยาลัยต้องเป็น “มดลูกให้สังคม” ฟูมฟักและพัฒนาเด็กรุ่นใหม่ ให้เป็นคนในแบบที่พึงประสงค์

กลยุทธการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตภายใต้กรอบประชาคมอาเซียน 1. การพัฒนาผู้เรียนบนฐานสมรรถนะ 2. การพัฒนาหลักสูตรให้พอดีกับผู้เรียน 3. การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นสากล 4. การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนที่มีประสิทธิภาพ 5. การพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิด ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

ต่อ 6. การพัฒนาผู้เรียนให้มีจิตสาธารณะ 7. การพัฒนาผู้เรียนให้รู้กว้าง 8. การพัฒนาผู้เรียนให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ 9. การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ 10. การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นอาเซียน ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

ต่อ 11. การพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ด้านกฎหมาย กติการะหว่างประเทศ 12. การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนักเรียนรู้ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

สรุป มหาวิทยาลัยต้องเตรียมพร้อมพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตให้ เป็นคนดี คนเก่ง คนกล้า เป็นสมอง เป็นตา เป็นหู เป็นหัวใจ เป็นปาก และเป็นมือ ให้สังคม เพื่อให้ประเทศชาติและสังคมสามารถอยู่รอด แข่งขันได้ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

Website: http://www.kriengsak.com กองทุนเวลาเพื่อสังคม Email : Timebank.Thai@gmail.com Tel & Fax : 0-2711-7494 ตู้ ป.ณ. 420 ปณจ.พระโขนง กรุงเทพฯ 10110 Website: http://www.kriengsak.com E-mail: kriengsak@kriengsak.com , Kriengsak@post.harvard.edu เบอร์โทร : 08-1776-8989 เบอร์แฟกซ์ : 0-2711-7474 ตู้ ป.ณ. 369 ปณจ. พระโขนง กรุงเทพฯ 10110

http://www.facebook.com/drdancando http://www.twitter.com/drdancando กองทุนเวลาเพื่อสังคม Email : Timebank.Thai@gmail.com Tel & Fax : 0-2711-7494 ตู้ ป.ณ. 420 ปณจ.พระโขนง กรุงเทพฯ 10110 สามารถติดตามข่าวสารทาง Social Network ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (Dr.Dan) ได้ที่... http://www.facebook.com/drdancando   http://www.twitter.com/drdancando   http://www.drkriengsak.hi5.com www.drdancando.com www.oknation.net/blog/kriengsak

โทร. : 081-776-8989 E-mail : kriengsak@kriengsak.com ติดต่อ โทร. : 081-776-8989 E-mail : kriengsak@kriengsak.com www.facebook.com/drdancando