การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง บทที่ 3-4 การวางแผนการแก้ปัญหา, การสร้างอัลกอริทึ่ม (Algorithm) การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง ในโปรแกรมหนึ่ง ๆ จะประกอบด้วยโครงสร้างหรือรูปแบบการทำงานที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานของโปรแกรม (Control Logic Structure) 3 ส่วน คือ โครงสร้างแบบเรียงลำดับ (Sequential Structure) ผังงานแบบนี้จะเป็นแบบผังงานแบบตามลำดับจากบนลงล่าง รับข้อมูล คำนวณ แสดงผล
โครงสร้างแบบเรียงลำดับ (Sequential Structure) รูปที่ 2 รับข้อมูล คำนวณ แสดงผล รูปที่ 1 คือ การเขียนให้เป็นลำดับ ดังรูปที่ 1. ไม่ใช่เขียนข้ามไปข้ามมาดังรูปที่ 2.
ตัวอย่าง แสดงการเขียนผังงานโครงสร้างแบบลำดับ Start เริ่มต้น A,B รับข้อมูล C = A + B คำนวณ A,B,C แสดงผล End จบการทำงาน
โครงสร้างแบบเลือก (Decision or Selection Structure) เป็นการเขียนผังงานแบบมีเงื่อนไขการตัดสินใจในการทำงาน มี 2 แบบ คือ 1. แบบ IF__Then__ ใช้สำหรับกรณีที่มี ทางเลือก 2 ทาง แบบ If__Then แบบ If__Then__Else F F เงื่อนไข เงื่อนไข T T Process Z Process X Process X Process Y Process Y
แสดงการเขียนผังงานโครงสร้างแบบเลือก Start Start A,B A,B A>B F F A>B T C= B-A T C=A+B C=A+B A,B,C A,B,C End End
2. แบบ Case ใช้กรณีที่มีทางเลือกมากกว่า 2 ทางเลือกขึ้นไป เงื่อนไข 1 2 3 Process 1 Process 2 Process 3
ตัวอย่างแสดงการเขียนผังงานโครงสร้างแบบเลือก (Case) เริ่มต้น A,B เลือกข้อทำงาน 1 2 3 C = A+B C=A-B C=A*B A,B,C จบ
โครงสร้างแบบทำซ้ำ (Loop Structure) การทำงานซ้ำแบบ While จะมีการตรวจสอบเงื่อนไขก่อนทำงาน การทำงานซ้ำแบบ Until จะมีการทำงานก่อนแล้วจึงมีตรวจสอบเงื่อนไข คำสั่ง F เงื่อนไข F T เงื่อนไข คำสั่ง T
แสดงการเขียนผังงานโครงสร้างแบบทำซ้ำ While Start SM=0, N=0 SM=0,N=0 F N<10 T N=N+1 SM,N SM=SM+N End
แสดงการเขียนผังงานโครงสร้างแบบทำซ้ำ Until Start SM=0, N=0 N=N+1 SM=SM+N F T N=10 SM,N End