Operating System ฉ NASA 4
ความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ในยุคแรก การสั่งงานช้า ยุ่งยาก ต้องเข้าใจฮาร์ดแวร์ ทำงานได้น้อย คอมพิวเตอร์ในยุคต่อมา ปรับปรุงให้ใช้ภาษาสัญลักษณ์ ใช้คำสั่งเป็นภาษาอังกฤษสั่งงาน ไม่ต้องเข้าใจรายละเอียดฮาร์ดแวร์ 7
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ ขยายความสามารถทางฮาร์แวร์ ให้ง่ายต่อการใช้งาน ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบรายละเอียดวิธีการทำงานของฮาร์ดแวร์ ใช้งานฮาร์ดดิสก์ และ CD-ROM ได้แบบเดียวกัน ทั้งที่มีลักษณะทางกายภาพต่างกัน
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ ควบคุมและจัดสรรทรัพยากรในระบบ ได้แก่ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำ อุปกรณ์นำข้อมูลเข้า อุปกรณ์ส่งข้อมูลออก ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน
ประเภทของระบบปฏิบัติการ แบ่งตามงาน (Task) งานเดียว (Single Task) ทำงานได้ครั้งละงาน เมื่อเริ่มต้นทำงานใดแล้วต้องทำ จนเสร็จ
ประเภทของระบบปฏิบัติการ หลายงาน (Multitask) มีงานหลัก (Foreground) งานเดียวผู้ใช้สามารถควบคุมโต้ตอบได้โดยตรง งานที่เหลือเป็นงานรอง (Background) สามารถเปลี่ยนสถานะระหว่างงานหลักและงานรองได้
งานที่เป็น background งานที่เป็น foreground Task Bar
ประเภทของระบบปฏิบัติการ แบ่งตามผู้ใช้ (User) ผู้ใช้เดียว (Single User) ผู้ใช้คนใดเข้ามาใช้เครื่องจะถือว่าเป็นผู้ใช้คนเดียวกันหมด ตัวอย่าง สมหญิงพิมพ์งานและจัดเก็บแฟ้มไว้ใน ตอนเช้า ตอนบ่ายสมชายเข้ามาลบแฟ้มของสมหญิงได้ ระบบปฏิบัติการถือว่าสมหญิงและสมชายเป็นผู้ใช้คนเดียวกัน
ประเภทของระบบปฏิบัติการ หลายผู้ใช้ (Multiuser) ระบบปฏิบัติการยอมรับว่ามีผู้ใช้หลายคน มีการกำหนดความเป็นเจ้าของ มีการกำหนดสิทธิในการใช้ทรัพยากร ไม่มีสิทธิในการใช้ทรัพยากรของผู้อื่น
Mutiuser System ผู้ใช้มี 2 ระดับ ผู้จัดการระบบ (System Administration) ควบคุมและดูแลระบบให้ทำงานได้ตลอดเวลา สร้างผู้ใช้ในระบบ ผู้ใช้ทั่วไป ทำงานในระบบ หากมีปัญหาใดต้องติดต่อกับผู้ดูแลระบบ
ประเภทโปรแกรมระบบปฏิบัติการ Single Task/Single User ระบบปฏิบัติการ MS-Dos Multitask/Single User ระบบปฏิบัติการ MS-Windows Multitask/Multiuser ระบบปฏิบัติการ Unix
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ Kernel ทำหน้าที่จัดสรรและควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ Shell ทำหน้าที่ในการติดต่อกับผู้ใช้ Utility โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับ เรียกใช้บริการของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ Kernel Shell Utilities H/W
ชนิดของ Shell Shell ที่มีการติดต่อกับผู้ใช้ด้วยคำสั่ง (Text Shell) ผู้ใช้สั่งงานโดยป้อนคำสั่งที่ต้องการ ผู้ใช้ต้องจำคำสั่ง และรูปแบบคำสั่ง ยากต่อการใช้งาน มีความอ่อนตัวสูง สามารถ เปลี่ยนทิศทาง input และ output ได้ (Redirection) นำเอา output ของคำสั่งหนึ่งเป็น input ของอีกคำสั่งหนึ่งได้ (pipelining) สามารถรวมคำสั่งเขียนเป็น Shell Script ได้
ผลลัพธ์ที่ระบบปฏิบัติการแสดงให้ คำสั่งที่ ผู้ใช้ป้อน ผลลัพธ์ที่ระบบปฏิบัติการแสดงให้ คำสั่งที่ ผู้ใช้ป้อน
ชนิดของ Shell Shell ที่มีการติดต่อกับผู้ใช้ด้วยภาพสัญลักษณ์ (Graphic shell) สั่งงานโดยเลือกรูปสัญลักษณ์ (icon) ที่ต้องการโดยใช้เม้าท์ ง่ายต่อการใช้งาน ประสิทธิภาพในการทำงานจำกัด
การเรียกใช้โปรแกรมประยุกต์ ชื่อโปรแกรมหรือภาพสัญลักษณ์เป็นตัวแทนของโปรแกรม โปรแกรมเป็นแฟ้มคำสั่งภาษาเครื่องจัดเก็บในจานแม่เหล็ก Text Shell พิมพ์ชื่อแฟ้มโปรแกรมนั้น Graphic Shell เลือกภาพสัญลักษณ์ของโปรแกรมโดยใช้เม้าท์
การเรียกใช้โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมถูกอ่านจากจานแม่เหล็กเพื่อสร้างเป็นโปรเซส การทำงานตามโปรแกรมเป็นหน้าที่ของโปรเซส โปรแกรมหนึ่งสามารถสร้างเป็นโปรเซสได้หลายโปรเซส
การจัดการโปรเซส การสร้างโปรเซส การควบคุมและติดตามการทำงานของโปรเซส การทำลายโปรเซส
การสร้างโปรเซส
การจัดการกับโปรเซส
Summary Discussion 32