กรมชลประทานได้รับผลกระทบจาก แผ่นดินไหววันที่ 26 ธ.ค. 47 อย่างไร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
พื้นที่อันตรายจากแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
ปฏิทินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
มารู้จักเขื่อนใต้ดินกันเถอะ
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
โครงสร้างภายใน สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ปี พ.ศ. 2551
การประเมินผลการเรียน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
นายโกสน เพชรรักษ์ นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ ( กก. วล.) ในการประชุม ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ มีมติเห็นชอบ ในหลักการ ๑. เพิ่มเติมประเภทและขนาดของ.
การบริหารความเสี่ยง สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ความคืบหน้าของรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
ส่วนวิศวกรรมธรณี สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
เขื่อนชีบน และ เขื่อนยางนาดี จังหวัดชัยภูมิ
โดย รศ.ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
หลักเกณฑ์การเปลี่ยนสายงาน (ชื่อตำแหน่ง) ลูกจ้างประจำ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
โครงการอ่างเก็บน้ำธารประเวศ อ.เกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานี
โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการ การจัดการแผนกลยุทธ์
ระบบตรวจวัดแผ่นดินไหว ในประเทศไทย Thailand Seismic Observatories
เหตุการณ์แผ่นดินไหว ขนาด 6
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านชลประทาน
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
และการนำไปใช้ประโยชน์
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรมชลประทานได้รับผลกระทบจาก แผ่นดินไหววันที่ 26 ธ.ค. 47 อย่างไร โดย ดร.ธนู หาญพัฒนพานิชย์ นายธรรมนูญ มโนสุทธิกิจ 5 ม.ค. 48

ผลกระทบจากแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน เขื่อนพังเนื่องจากการฉีกขาดของรอยเลื่อน (Fault Break) เขื่อนทรุดเนื่องจากการสั่นสะเทือน (Vibration) เขื่อนพังเนื่องจากดินเหลว (Liquefaction)

เขื่อนพังเนื่องจาก Fault Break (Chi-Kang Dam, Taiwan จาก Chi-Chi Earthquake ขนาด 7.6 Mw วันที่ 20 ก.ย. 42 )

เขื่อนทรุดเนื่องจาก Vibration (เขื่อนชลประทาน India จาก Bhuj Earthquake, 7.4 Mw 26 ม.ค. 44)

เขื่อนทรุดเนื่องจาก Vibration (เขื่อนชลประทาน India จาก Bhuj Earthquake, 7.4 Mw 26 ม.ค. 44)

เขื่อนทรุดเนื่องจาก Vibration (เขื่อนชลประทาน India จาก Bhuj Earthquake, 7.4 Mw 26 ม.ค. 44)

เขื่อนทรุดเนื่องจาก Vibration (เขื่อนชลประทาน India จาก Bhuj Earthquake, 7.4 Mw 26 ม.ค. 44)

เขื่อนทรุดเนื่องจาก Vibration (เขื่อนชลประทาน India จาก Bhuj Earthquake, 7.4 Mw 26 ม.ค. 44)

เขื่อนพังเนื่องจาก Liquefaction (Sheffield Dam, USA)

การออกแบบเขื่อนต้านแผ่นดินไหวของ กรมชลประทานอ้างอิงจาก... แนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบเขื่อนเก็บกักน้ำและอาคารประกอบ (ของกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) มิถุนายน 2545 ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว (Seismic Coefficient)ในประเทศไทย จากแผนที่ความเสี่ยงภัยและเขตความเสี่ยงภัย ของ ดร. เป็นหนึ่งและคณะ AIT 2537

แนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบเขื่อนเก็บกักน้ำและอาคารประกอบ

แนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบเขื่อนเก็บกักน้ำและอาคารประกอบ

แนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบเขื่อนเก็บกักน้ำและอาคารประกอบ

ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของดร ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของดร.เป็นหนึ่ง)

ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวของ ดร ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวของ ดร.เป็นหนึ่ง ได้มาอย่างไร? Seismic source zone ของ ดร.ปริญญา Seismic zonation map ของ ดร.เป็นหนึ่ง

Seismic Source Zone ของ ดร.ปริญญา

Seismic Source Zone ของ ดร.ปริญญา

ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของ ดร ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของ ดร.เป็นหนึ่ง)

ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของ ดร ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของ ดร.เป็นหนึ่ง)

ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของ ดร ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของ ดร.เป็นหนึ่ง)

ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของ ดร ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของ ดร.เป็นหนึ่ง)

การกำหนด Seismic Zone ของ คณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ

การกำหนด Seismic Zone ของ คณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ

การกำหนด Seismic Zone ของ คณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ

กรมชลประทานได้รับผลกระทบ จากแผ่นดินไหววันที่ 26 ธ.ค. 47 อย่างไร ประเด็นปัญหา ค่าทางสถิติเปลี่ยนจากค่าสูงสุด จากขนาด Mw 7.6 เป็นขนาด Mw 9.0 คาบอุบัติซ้ำ (Return Period) เปลี่ยนไป Seismic Source Zone ไม่ครอบคลุม

ของใหม่ต้องเป็นอย่างไร? ขนาดแผ่นดินไหวที่ใหญ่ขึ้น Seismic source map ใหม่ของ ดร.ปัญญา การแบ่ง Source zone ให้ครอบคลุมแหล่งแผ่นดินไหวโดยรอบทั้งหมด Return period ใหม่ ข้อมูลแผ่นดินไหวจากการวัดมีเพิ่มขึ้นจากปี 2537

ขนาดแผ่นดินไหวที่รุนแรงขึ้น

Seismic Source Map ใหม่ของดร.ปัญญา

Return period ใหม่ ??? ยังไม่มี สอบถาม ดร.เป็นหนึ่ง ยืนยันว่า หากจะทำใหม่ ต้องใช้เวลา อย่าง น้อย 2 ปี (จะทำอยู่แล้วแต่ต้องใช้นักศึกษา) - ถ้าจ้างให้ทำ ใช้เวลาประมาณ 1 ปี

กรมชลประทานจะทำอย่างไรกับ… เขื่อนที่จะสร้างใหม่ เขื่อนที่มีอยู่แล้ว

เขื่อนที่จะสร้างใหม่ รอหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมทรัพยากรธรณี, คณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ จัดทำ Seismic Code ใหม่ ระหว่างที่รอ ใช้มาตรการด้าน Factor of Safety เพิ่มเติม ปัญหาคือ ไม่สามารถยืนยันว่าถูกต้อง (Over หรือ Under Conservative) ดำเนินการจัดทำเอง – ต้องเร่งทำใหม่ ขึ้นมาใช้เอง ปัญหาคือ ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านนี้มาช่วยทำ

เขื่อนเก่าที่มีอยู่แล้ว ประเมินความเสี่ยงด้านแผ่นดินไหวใหม่ทั้งหมด คัดเลือกเขื่อนที่มีความเสี่ยงในลำดับสูง มาวิเคราะห์ทบทวน ความมั่นคง และปรับปรุงตามความเหมาะสม จัดให้มีการรองรับความเสี่ยง แต่ยังไม่ดำเนินการกับตัวเขื่อน

ความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ (neic.usgs.gov)

จาก International Water Power & Dam Construction March, 2002

“ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับนโยบาย”

แนวทางการปฏิบัติ

ขอบคุณ Thank You