การศึกษาและพัฒนาอาคารวัดปริมาณน้ำ ที่มีระดับต่างคงที่ (CHO)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการ
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
มารู้จักเขื่อนใต้ดินกันเถอะ
รองอธิบดีฝ่ายบำรุงรักษา
รายงานสรุปสถานการณ์น้ำ ประจำวันที่ 20 มิถุนายน 2557
เมื่อโครงการชลประทานกาญจนบุรี ได้รับหนังสือร้อง ขอที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาเรื่องน้ำ จะให้ ฝสบ. คป. ในพื้นที่ ไปดำเนินการพิจาณาโครงการ เบื้องต้น.
ตำแหน่งติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำที่เหมาะสม
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
โครงสร้างภายใน สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ปี พ.ศ. 2551
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แนวคิดการประเมินประสิทธิภาพ
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับค่าโดยสารรถเมล์ ขสมก.
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
นโยบายของท่านเลขาธิการ ส.ป.ก. ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง การวางระบบท่อก๊าซปิโตรเลียมเหลว และการติดตั้งอุปกรณ์เข้ากับถังเก็บและจ่ายก๊าซ ในสถานที่ใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 เมษายน 2555.
การวิเคราะห์ทางด้านอุทกวิทยา
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
โครงการออกแบบวางผังแม่บท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
************************************************
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
ราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพและ ความละเอียดของข้อมูล ต้องใช้พลังงานจากเรือยนต์
การลงข้อมูลแผนการสอน
7.5 วิธีการวัดน้ำท่า(streamflow measurement)
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา สำนัก ชลประทานที่ 3 วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ. ศ ณ ห้องประชุม 1 สำนัก ชลประทานที่ 3 วาระที่ 3.1 : สรุป รายงาน ผลการเบิกจ่าย.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
การออกแบบคลองและอาคารส่งน้ำ
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
ความใหม่ การจัดทำเพชรนำพา เป็นการนำหลักชลศาสตร์ มาเพื่อใช้ในการวัดความเร็วของกระแสน้ำ เพื่อใช้ในงานชลประทาน.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
แผนการจัดการเรียนรู้
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การวิเคราะห์และ ออกแบบระบบ การวิเคราะห์และ ออกแบบระบบ.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาและพัฒนาอาคารวัดปริมาณน้ำ ที่มีระดับต่างคงที่ (CHO) (A Study and Development of Constant Head Orifice Structure) กัญญา อินทร์เกลี้ยง (Kanya Inkliang) ความเป็นมาของปัญหา อาคารวัดน้ำที่มีระดับต่างคงที่ (Constant Head Orifice, CHO) เป็นอาคารชลประทานหรือ อาคารบังคับน้ำปากคลองขนาดเล็กชนิดหนึ่งที่สร้างไว้ที่ปากคลองส่งน้ำขนาดเล็กหรือปากคูส่งน้ำ เพื่อทำหน้าที่ควบคุมและวัดปริมาณน้ำ โดยใช้หลักการของ Orifice ในการวัดน้ำ นอกจากนั้นยังสามารถ บังคับให้ปริมาณน้ำไหลผ่านอาคารในอัตราที่ต้องการคงที่แม้ระดับน้ำด้านเหนือน้ำในคลองส่งน้ำจะมี การเปลี่ยนแปลง โดยอาคาร CHO จะมีอยู่ 2 บาน บานแรกทำหน้าที่ควบคุมพื้นที่ของ Orifice บานที่สองซึ่งอยู่ทางท้ายน้ำของบานแรกทำหน้าที่ควบคุมความลึกของน้ำทางด้านท้ายของบานแรก ซึ่งบานท้ายน้ำนี้ใช้เพื่อรักษาความแตกต่างของระดับทั้งด้านเหนือน้ำกับท้ายน้ำของบาน Orifice เป็นอยู่อย่างคงที่ การควบคุมระดับต่างของบานที่คงที่นั้นต้องใช้เวลานานในการปรับระดับน้ำ และมีความยุ่งยากในการใช้งาน ผู้ควบคุมการเปิด-ปิดประตูน้ำปากคลอง (อาคาร CHO) ดังกล่าว ไม่สะดวกในการใช้งาน ดังนั้นจึงทำการศึกษาและพัฒนาอาคาร CHO ให้ใช้งานสะดวกใช้เวลา ในการปรับระดับน้ำน้อยให้คงที่ และทำให้ง่ายต่อการใช้งานยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ - เพื่อศึกษาและพัฒนาอาคารบังคับน้ำปากคลองชนิดอาคารวัดน้ำมีระดับต่างคงที่ (อาคาร CHO) สำหรับการกำหนดรูปแบบการนำไปใช้ในปากคลองส่งน้ำขนาดเล็กของงานชลประทานต่าง ๆ รูปที่ 1 แบบอาคารวัดน้ำ CHO การดำเนินงาน เก็บรวบรวมข้อมูล เอกสารเกี่ยวกับอาคารวัดน้ำ CHO และแบบมาตรฐานของอาคารวัดน้ำ CHO การจัดทำอาคารวัดน้ำ CHO ตามแบบมาตรฐาน ศึกษาทดลอง และพัฒนาอาคาร วัดน้ำCHO รูปที่ 2 อาคารวัดน้ำ CHO ผลการวิจัย 1. ความลึกน้ำด้านหน้าประตู Orifice Gate กรณีการไหลด้านท้าย Control Gate เป็นแบบอิสระ ( free flow) มีค่าอยู่ระหว่าง 0.39 – 1.22 ม. และ กรณีการไหลเป็นแบบจม (Submerged flow) ความลึกด้านหน้าประตู Orifice Gate อยู่ระหว่าง 0.39 – 1.34 ม. 2. ค่าสัมประสิทธิ์การไหล ( C ) ของประตู Orifice Gate มีค่าอยู่ระหว่าง 0.549 – 0.835 3. ขนาดช่องเปิดของประตู Orifice Gate ที่เหมาะสม ดังนี้ อัตราการไหล (Q) = 30 ลิตร/วินาที ขนาดของช่องเปิด LXD = 0.07 X 0.63 ม. มีค่า C= 0.627 อัตราการไหล (Q) = 60 ลิตร/วินาที ขนาดของช่องเปิด LXD = 0.125 X 0.63 ม. มีค่า C= 0.702 อัตราการไหล (Q) = 80 ลิตร/วินาที ขนาดของช่องเปิด LXD = 0.16 X 0.63 ม. มีค่า C= 0.688 อัตราการไหล (Q) = 150 ลิตร/วินาที ขนาดของช่องเปิด LXD = 0.16 X 1.26 ม. มีค่า C= 0.686 อัตราการไหล (Q) = 180 ลิตร/วินาที ขนาดของช่องเปิด LXD = 0.18 X 1.26 ม. มีค่า C= 0.731 อัตราการไหล (Q) = 210 ลิตร/วินาที ขนาดของช่องเปิด LXD = 0.22 X 1.26 ม. มีค่า C= 0.698 4. การพัฒนาอาคารวัดน้ำ CHO ได้พิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์การไหล ( C ) ของประตู Orifice Gate พื้นที่หน้าตัด ความลึกน้ำด้านหน้าของอาคารกรณีการไหลท้ายน้ำอิสระและแบบจม และค่า L/D ได้อาคารที่พัฒนา 1) ช่องเปิดของประตู Orifice Gate ที่เหมาะสม อัตราการไหล (Q) = 30 ลิตร/วินาที ขนาดของช่องเปิด LXD = 0.16 X 0.30 ม. มีค่า C = 0.576 อัตราการไหล (Q) = 60 ลิตร/วินาที ขนาดของช่องเปิด LXD = 0.20 X 0.45 ม. มีค่า C = 0.614 อัตราการไหล (Q) = 120 ลิตร/วินาที ขนาดของช่องเปิด LXD = 0.32 X 0.60 ม. มีค่า C = 0.564 อัตราการไหล (Q) = 150 ลิตร/วินาที ขนาดของช่องเปิด LXD = 0.35 X 0.70 ม. มีค่า C = 0.686 อัตราการไหล (Q) = 180 ลิตร/วินาที ขนาดของช่องเปิด LXD = 0.39 X 0.70 ม. มีค่า C = 0.608 อัตราการไหล (Q) = 210 ลิตร/วินาที ขนาดของช่องเปิด LXD = 0.44X 0.70 ม. มีค่า C= 0.628 2) ข้อจำกัดของการใช้งานอาคารวัดน้ำ CHO คือ ขนาดช่องบานประตู Orifice Gate อัตราการไหลผ่าน ความลึกด้านหน้าประตูและการปรับบาน Control gate กรณีการไหลด้านท้ายบานเป็นแบบอิสระ หรือแบบจมใต้ผิวน้ำ รูปที่ 3 การทดลองอาคารวัดน้ำ CHO สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาอาคารวัดน้ำ CHO เป็นอาคารชลประทานขนาดเล็ก ควบคุมและวัดปริมาณน้ำได้ตามต้องการโดยบังคับบานประตู 2 บาน ให้มีระดับน้ำต่างคงที่ การพัฒนาและปรับปรุงโดยให้มีการบังคับบานเพียงบานเดียวและให้ระดับน้ำต่างคงที่สามารถควบคุมน้ำได้ตามต้องการทำให้สะดวก รวดเร็วกว่าอาคารเดิม ข้อเสนอแนะ/การนำไปใช้ประโยชน์ 1. สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมสามารถนำเอาสัดส่วนรูปร่างของอาคารวัดน้ำ CHO ไปกำหนดรูปแบบมาตรฐานของอาคารวัดน้ำ CHO ทำให้การควบคุมและวัดปริมาณน้ำได้สะดวก รวดเร็วกว่าอาคารเดิม 2. วิศวกรมีความเชื่อมั่นในการออกแบบเนื่องจากมีข้อมูลผลการทดลองสนับสนุน 3. ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับอาคารวัดน้ำ CHO สำนักวิจัยและพัฒนา