สาระสำคัญของการแก้ไข พรบ. กบข. ฉบับที่ 5
พรบ. กบข. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2550 พรบ. กบข. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2550 มีผลบังคับใช้ 10 มกราคม 2551 สาระสำคัญ - โครงการออมเพิ่ม - โครงการทยอยขอรับเงินคืน - การเลือกแผนการลงทุนของตนเอง
สาระสำคัญโครงการออมเพิ่ม 1. เป็นสมาชิก กบข. ประเภทส่งเงิน “สะสม” เท่านั้น 2. เพิ่มจากเงินสะสมเดิม ตั้งแต่ 1% – 12% 3. คำนวณเงินสะสมส่วนเพิ่ม แยกจากเงินสะสมปกติ (3%) 4. เงินสมทบและเงินชดเชย ในส่วนรัฐบาลคงเดิม คือ เงินสมทบ 3% เงินชดเชย 2%
สาระสำคัญโครงการออมเพิ่ม 5. แจ้งความประสงค์ที่ต้นสังกัด โดยใช้แบบฟอร์ม “แบบแจ้งความประสงค์ในการส่งเงินสะสมส่วนเพิ่ม” 6. เริ่มยื่นเรื่องได้ตั้งแต่ 7. เปลี่ยนแปลงอัตราเงินสะสมส่วนเพิ่ม หรือยกเลิกเงินสะสมส่วนเพิ่ม ทุกเดือน มีผลใช้ เดือนมกราคม ธันวาคม ของปีถัดไป เดือนมีนาคม เป็นต้นไป หักเงินสะสม ส่วนเพิ่มเดือนถัดไป
สาระสำคัญโครงการออมเพิ่ม 8. หน่วยงานต้นสังกัดเป็นผู้เก็บ “แบบแจ้งความประสงค์ ในการส่งเงินสะสมส่วนเพิ่ม” ไว้เป็นหลักฐาน 9. หน่วยงาน ต้นสังกัด 10. เงินสะสม ส่วนเพิ่ม นำส่งเงิน กบข. ทำหน้าที่หักเงินสะสมส่วนเพิ่มจากสมาชิก ได้รับเมื่อ พ้น สมาชิกภาพ
ขั้นตอนการส่งเงินสะสมส่วนเพิ่ม 1. สมาชิกแบบสะสม ยืนยันเอกสาร หน่วยงานต้นสังกัด เก็บเป็นหลักฐาน ไม่ต้องนำส่งกองทุน หน่วยงานต้นสังกัดหักเงินนำส่งส่วนเพิ่มของสมาชิก และนำส่งเงินให้ กบข. ในเดือนต่อไป กบข. นำไปลงทุนหาผลประโยชน์ เงินสะสมส่วนเพิ่ม ผลประโยชน์ บัญชีสมาชิก แจ้งผล ผ่านใบแจ้งยอด 2. 3. 4. ติดต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อกรอกแบบฟอร์ม 5. ส่วนของเงินสะสมส่วนเพิ่มที่จ่ายเข้ากองทุนจะได้รับลดหย่อนภาษีตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
สาระสำคัญโครงการทยอยขอรับเงินคืน แนวทางการปฏิบัติ 1. 2. 3. 4. 5. ขอรับเงิน ที่มีสิทธิได้ รับทั้งจำนวน ขอโอนเงินที่มี สิทธิได้รับไปยัง กองทุนสำรอง เลี้ยงชีพหรือ กองทุนอื่นที่มี วัตถุประสงค์ เพื่อการออกจาก งานหรือการ ชราภาพ ขอฝากเงินที่มี สิทธิได้รับให้ กองทุน บริหารต่อ ขอทยอยรับเงิน ที่มีสิทธิได้รับ ขอรับเงินที่มี สิทธิได้รับบางส่วน ส่วนที่เหลือ ขอทยอยรับ
สาระสำคัญโครงการทยอยขอรับเงินคืน การเข้าร่วมโครงการ สมาชิกที่มีความประสงค์ตามข้อ 3-5 จะต้องแนบเอกสาร “แบบแจ้งความประสงค์ให้ กองทุนบริหารต่อหรือขอทยอยรับเงิน” มาพร้อม กับแบบ กบข. รง 008/1/...... สามารถแจ้งเปลี่ยนแปลงจำนวนเงิน หรือความถี่ ในการขอรับเงินคืน ได้ปีละ 1 ครั้ง ตามปีปฏิทิน โดยใช้ “แบบแจ้งเปลี่ยนแปลงข้อมูลผู้แจ้งความประสงค์ให้ กองทุนบริหารต่อหรือขอทยอยรับเงิน”
สาระสำคัญโครงการทยอยขอรับเงินคืน การเข้าร่วมโครงการ การใช้สิทธิตามข้อ 3 “ขอฝากเงินที่มีสิทธิได้รับ ให้กองทุนบริหารต่อ” การใช้สิทธิตามข้อ 4 “ขอทยอยรับเงินที่มีสิทธิได้รับ” ต้องมียอดเงินในบัญชี ไม่ต่ำกว่า 35,000 บาท ณ วันที่ยื่นคำขอ การใช้สิทธิตามข้อ 5 “ขอรับเงินที่มีสิทธิได้รับบางส่วน ส่วนที่เหลือขอทยอยรับ” ต้องมียอดเงินส่วนที่เหลือ ขอทยอยรับในบัญชีไม่ต่ำกว่า 35,000 บาท ณ วันที่ยื่นคำขอ
เปิดให้บริการทางเลือกของสมาชิกที่พ้นสมาชิกภาพในเดือนสิงหาคม 2551 สาระสำคัญโครงการทยอยขอรับเงินคืน การเข้าร่วมโครงการ การขอทยอยรับ ต้องรับเป็นรายงวดๆ ละเท่าๆ กัน โดยอาจเลือกรับเป็นราย 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี ก็ได้ แต่ต้องมีจำนวนเงินขั้นต่ำรายงวด ไม่ต่ำกว่างวดละ 3,000 บาท กบข. จะโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารเพียงวิธีเดียวเท่านั้น และหักค่าธรรมเนียมธนาคารที่เกิดขึ้นจริงจากยอดที่ สมาชิกรับรายงวด เปิดให้บริการทางเลือกของสมาชิกที่พ้นสมาชิกภาพในเดือนสิงหาคม 2551
โครงการเลือกแผนการลงทุนของตนเอง เงื่อนไข สมาชิกสามารถเลือกแผนการลงทุนในส่วนของ เงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าว ข้อดี สมาชิกสามารถเลือกรูปแบบการลงทุน ที่ตรงกับความต้องการของตนเอง และได้รับผลตอบแทนตามที่ตนเลือก
พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “...คำว่าพอเพียง มีความหมายอีกอย่างหนึ่ง มีความหมายกว้างออกไปอีก. ไม่ได้หมายถึง การมีพอสำหรับใช้เท่านั้น แต่มีความหมายว่า พอมีพอกิน. ...ถ้าแต่ละคนพอมีพอกิน ก็ใช้ได้. ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่คณะบุคคคลต่างๆ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต วันศุกร์ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑