วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
Advertisements

บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
Time-Dependent Phenomena of Excited State
Photochemistry.
แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลง สภาวะพลังงานเมื่อโมเลกุล
Ground State & Excited State
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
Evalution of Antioxidation Activity
การสังเคราะห์ด้วยแสง ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
Rayleigh Scattering.
บรรยากาศ.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ของส่วนประกอบของเซลล์
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
วงจรสี.
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
Web Design.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552
ข้อเปรียบเทียบ Monitor 2 แบบ
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
ใบ Leaf or Leaves.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
ความหมายและชนิดของคลื่น
สีของแสงที่เหมาะสมกับไก่ไข่
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
กาแล็กซีและเอกภพ.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
L O G O ชุดทดสอบ กรดเรติโน อิก ใน เครื่องสำอา ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข.
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
863封面 ทองคำ เขียว.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
เรื่อง ธงประเทศต่างๆ ธงชาติไทย ธงชาติเวียดนาม
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
วิทยาศาสตร์ Next.
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
Kingdom Plantae.
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
การสังเคราะห์ด้วยแสง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา สรีรวิทยาของพืช 1202 320 (Plant Physiology) 29 มิถุนายน 2552

การสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis)

การสังเคราะห์ด้วยแสง แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ซึ่งเกิดต่อเนื่องกันในคลอโรพลาสต์ 1. ปฏิกิริยาแสง (light reaction) ใช้พลังงานแสงผลักดันให้เกิดการถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากน้ำไปยัง NADP+ ได้ NADPH และ ATP

2. ปฏิกิริยาไม่ใช้แสง (dark reaction) ใช้ NADPH และATP ตรึง CO2 เปลี่ยนให้เป็นน้ำตาล

ที่มา : http://www. pearsonsuccessnet ที่มา : http://www.pearsonsuccessnet.com/snpapp/iText/products/0-13-115075-8/text/chapter8/08images/08-04.gif

ปฏิกิริยาแสง เปลี่ยนรูปพลังงานแสงเป็นพลังงานเคมี แสง ที่มีประโยชน์ต่อพืช คือ ช่วงแสงที่มีความยาวคลื่น 400 – 700 นาโนเมตร

- แสง ประกอบด้วยอนุภาคพลังงานที่เรียกว่า “โฟตอน” (photon) - พลังงานของโฟตอนแปรผกผันกับความยาวคลื่น

สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์

พลังงานแสงถูกดูดกลืนโดย “รงควัตถุ” 3 กลุ่ม คือ - คลอโรฟิลล์ (chlorophyll) - คาโรทีนอยด์ (caroteniods) - ไฟโคบิลิน (phycobilin)

คลอโรฟิลล์ คลอโรฟิลล์ดูดกลืนแสงสีน้ำเงินและสีแดงได้มากที่สุด คลอโรฟิลล์ดูดกลืนแสงสีเขียวได้น้อยมาก

คาโรทีนอยด์ พบมากในเนื้อเยื่อที่มีสีเหลือง ส้ม แดง ถ่ายทอดพลังงานให้คลอโรฟิลล์ ปกป้องคลอโรฟิลล์ และองค์ประกอบอื่นๆ

พบเฉพาะในสาหร่ายสีแดง และสาหร่าย ไฟโคบิลิน พบเฉพาะในสาหร่ายสีแดง และสาหร่าย สีน้ำเงินแกมเขียว

โมเลกุลของรงควัตถุ ถูกกระตุ้นโดยพลังงานแสงได้อย่างไร ?? รงควัตถุที่ไม่ได้รับแสง อิเล็กตรอนในโมเลกุล จะมีระดับพลังงานต่ำที่สุด เรียกว่า “ โมเลกุล อยู่ในสภาวะพื้น ” (ground state)

- เมื่อโมเลกุลของรงควัตถุดูดกลืนพลังงานจากแสงหนึ่งโฟตอน จะทำให้ โมเลกุลอยู่ในสภาวะตื่นตัว หรือสภาวะกระตุ้น (excited state)

- โมเลกุลจะอยู่ในสภาพกระตุ้นเพียง 10-9 วินาที อิเล็กตรอนจะคายพลังงานออกไปเพื่อกลับสู่สภาวะพื้น

การคายพลังงานรูปแบบต่างๆ การคายพลังงานออกมาในรูปความร้อน การคายพลังงานในรูปของแสง

3. การถ่ายทอดพลังงานไปให้รงควัตถุข้างเคียง 4. คลอโรฟิลล์ที่เป็นศูนย์กลางปฏิกิริยา จะเปลี่ยนสภาพกลับสู่สภาวะพื้นโดยการสูญเสียอิเล็กตรอนออกไป

http://highered.mcgraw-hill.com/sites/dl/free/0072437316/120072/bio13.swf