งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
แรงและ แรง กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 1 ของนิวตัน

2 แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง คือความพยายามหรือการกระทำต่อวัตถุ ที่จะทำให้วัตถุนั้นเกิด การเปลี่ยนแปลง แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ ดั้งนั้นการรวมแรงจึงต้อง รวมแบบเวกเตอร์ ผลของแรงจะทำให้ 1. วัตถุนั้นยังคงสภาพเดิม 2. วัตถุเปลี่ยนสภาพไปจากเดิม 3. เกิดปฏิกิริยา เซอร์ไอแซคนิวตัน นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ นิวตันติดใจ ในปริศนาที่ว่า แรงอะไรที่ทำให้ผลแอปเปิลตกสู่พื้นดิน และตรึง ดวงจันทร์ไว้กับโลก ซึ่งนำไปสู่การค้นพบกฎการเคลื่อนที่สำคัญ 3 ข้อ

3 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน
“ วัตถุใดๆ ถ้าเดิมอยู่ในสภาวะหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ไปตามแนวเส้นตรง ด้วยความเร็วสม่ำเสมอ วัตถุนั้นๆ จะยังคงอยู่ในสภาวะหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร็วสม่ำเสมอนั้นตลอดไป ถ้าไม่มีแรงภายนอกมากระทำ” กฎข้อ 1 ของนิวตันเป็นกฎแห่งความสมดุลของวัตถุ เป็นกฎที่สืบเนื่องมาจากความเฉื่อยของวัตถุโดยตรง บางครั้งจึงเรียกว่า “กฎแห่งความเฉื่อย” ซึ่งกฎข้อที่ ยังรวมถึงแรงหลายแรงที่มากระทำกับวัตถุ แต่ผลรวมของแรงหรือแรงลัพธ์เป็นศูนย์

4 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน
กล่าวว่า “ อัตราความเร่งของวัตถุใดๆ จะแปรผันโดยตรงกับแรงลัพธ์ที่ไม่เป็นศูนย์ ที่กระทำต่อวัตถุนั้น และแปรผกผันกับมวลของวัตถุ โดยมีทิศทางการเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกันกับแรงลัพธ์ที่มากระทำกับวัตถุนั้น” เขียนสมการได้ว่า หรือ เมื่อ F เป็นขนาดของแรงลัพธ์ที่ไม่เป็นศูนย์มากระทำต่อวัตถุมวล m ให้มีอัตราเร่ง a

5 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3 ของนิวตัน
กล่าวว่า “ เมื่อมีแรงมากระทำกับวัตถุ จะเกิดแรงปฏิกิริยาต้านด้วยขนาดของแรงที่เท่ากัน แต่มีทิศทางตรงกันข้ามกับแนวแรงนั้น” เมื่อ F เป็นขนาดของแรงลัพธ์ที่ไม่เป็นศูนย์ มากระทำต่อวัตถุมวล m ให้มีอัตราเร่ง a


ดาวน์โหลด ppt กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google