วิชา สรีรวิทยาของพืช 1202 320 (Plant Physiology) 29 มิถุนายน 2552
การสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis)
การสังเคราะห์ด้วยแสง แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ซึ่งเกิดต่อเนื่องกันในคลอโรพลาสต์ 1. ปฏิกิริยาแสง (light reaction) ใช้พลังงานแสงผลักดันให้เกิดการถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากน้ำไปยัง NADP+ ได้ NADPH และ ATP
2. ปฏิกิริยาไม่ใช้แสง (dark reaction) ใช้ NADPH และATP ตรึง CO2 เปลี่ยนให้เป็นน้ำตาล
ที่มา : http://www. pearsonsuccessnet ที่มา : http://www.pearsonsuccessnet.com/snpapp/iText/products/0-13-115075-8/text/chapter8/08images/08-04.gif
ปฏิกิริยาแสง เปลี่ยนรูปพลังงานแสงเป็นพลังงานเคมี แสง ที่มีประโยชน์ต่อพืช คือ ช่วงแสงที่มีความยาวคลื่น 400 – 700 นาโนเมตร
- แสง ประกอบด้วยอนุภาคพลังงานที่เรียกว่า “โฟตอน” (photon) - พลังงานของโฟตอนแปรผกผันกับความยาวคลื่น
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์
พลังงานแสงถูกดูดกลืนโดย “รงควัตถุ” 3 กลุ่ม คือ - คลอโรฟิลล์ (chlorophyll) - คาโรทีนอยด์ (caroteniods) - ไฟโคบิลิน (phycobilin)
คลอโรฟิลล์ คลอโรฟิลล์ดูดกลืนแสงสีน้ำเงินและสีแดงได้มากที่สุด คลอโรฟิลล์ดูดกลืนแสงสีเขียวได้น้อยมาก
คาโรทีนอยด์ พบมากในเนื้อเยื่อที่มีสีเหลือง ส้ม แดง ถ่ายทอดพลังงานให้คลอโรฟิลล์ ปกป้องคลอโรฟิลล์ และองค์ประกอบอื่นๆ
พบเฉพาะในสาหร่ายสีแดง และสาหร่าย ไฟโคบิลิน พบเฉพาะในสาหร่ายสีแดง และสาหร่าย สีน้ำเงินแกมเขียว
โมเลกุลของรงควัตถุ ถูกกระตุ้นโดยพลังงานแสงได้อย่างไร ?? รงควัตถุที่ไม่ได้รับแสง อิเล็กตรอนในโมเลกุล จะมีระดับพลังงานต่ำที่สุด เรียกว่า “ โมเลกุล อยู่ในสภาวะพื้น ” (ground state)
- เมื่อโมเลกุลของรงควัตถุดูดกลืนพลังงานจากแสงหนึ่งโฟตอน จะทำให้ โมเลกุลอยู่ในสภาวะตื่นตัว หรือสภาวะกระตุ้น (excited state)
- โมเลกุลจะอยู่ในสภาพกระตุ้นเพียง 10-9 วินาที อิเล็กตรอนจะคายพลังงานออกไปเพื่อกลับสู่สภาวะพื้น
การคายพลังงานรูปแบบต่างๆ การคายพลังงานออกมาในรูปความร้อน การคายพลังงานในรูปของแสง
3. การถ่ายทอดพลังงานไปให้รงควัตถุข้างเคียง 4. คลอโรฟิลล์ที่เป็นศูนย์กลางปฏิกิริยา จะเปลี่ยนสภาพกลับสู่สภาวะพื้นโดยการสูญเสียอิเล็กตรอนออกไป
http://highered.mcgraw-hill.com/sites/dl/free/0072437316/120072/bio13.swf