คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game)
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่งมีการออกแบบบทเรียน โดยเน้นความสนุก ความเพลิดเพลินของบทเรียน (Learning is fun)
แบบเกม 1. การเรียนรู้เพื่อเข้าใจสถานการณ์การจูงใจให้ผู้เรียน 2.มีคำแนะนำเพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้เรียนเพื่อเป้าหมายสูงสุด
โครงสร้างบทเรียนช่วยสอนแบบเกม การนำเข้าสู่บทเรียนช่วยสอน การนำเสนอเกม การตัดสินใจผู้เรียน การให้ผลย้อนกลับ/รายงานผลการเรียน/สถิติ จบบทเรียนช่วยสอน/ออกจากโปรแกรม การตัดสินใจฝ่ายตรงข้าม
ข้อดีของแบบการจำลอง 1.ช่วยลดความเสี่ยงอันตรายอันเกิดขึ้นได้จากการเรียนจากสถานการณ์จริง 2.ช่วยลดค่าใช้จ่ายจากการเรียนจากของจริง 3.ทำให้ลดความยาก จากการสังเกต เวลา เป็นความจริงขึ้นมาได้
ข้อดีของแบบการจำลอง 4.มีกิจกรรมหลากหลายให้ผู้เรียน 5.ช่วยการถ่ายโอนความรู้จากสถานการณ์หนึ่งไปยังสถานการณ์หนึ่งได้ 6.ทำให้ทบทวนบทเรียนได้เรื่อย ๆ ประหยัดค่าใช้จ่าย
ประเภทการจำลอง แบ่งเป็น 2 ลักษณะ 1. การจำลองซึ่งตอบคำถามเกี่ยวกับความหมาย (About Simulation) 2. การจำลองซึ่งคำถามเกี่ยวกับวิธีการ(How to Simulation)
1. การจำลองซึ่งตอบคำถามเกี่ยวกับความหมาย (About Simulation) - มุ่งเน้นการอธิบายความหมายเกี่ยวกับวัตถุใดวัตถุหนึ่ง แนวคิดใดแนวคิดหนึ่ง กระบวนการใดกระบวนการหนึ่ง
1. การจำลองซึ่งตอบคำถามเกี่ยวกับความหมาย (About Simulation) - เป็นการจำลอง ซึ่งตอบคำถามว่า คืออะไร
การจำลองตอบคำถาม แบ่งเป็น 2 ประเภท 1.การจำลองทางกายภาพ(Physical Simulation) 2.การจำลองกระบวนการ (Process Simulation)
การจำลองทางกายภาพ (Physical Simulation) 1. สามารถสังเกตเห็นได้ 2. อธิบายเนื้อหาได้ชัดเจน เช่นเรื่องเกี่ยวกับเครื่องกล ระบบร่างกาย
การจำลอง กระบวนการ (Process Simulation) 1. มุ่งเน้นอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับกระบวนการ 2. มีแนวคิดที่เป็นระบบ ขั้นตอน
ความคล้ายคลึงของการจำลองทางกายภาพกับการจำลองกระบวนการ 1.เป็นการมุ่งเน้นอธิบายความหมายเกี่ยวกับวัตถุใดวัตถุหนึ่ง แนวคิดหรือกระบวนการ 2.ผู้เรียนสังเกตผลลัพธ์ที่เปลี่ยนไปตามค่าที่กำหนด
2.การจำลองซึ่งตอบคำถามเกี่ยวกับวิธีการ เป็นการตอบคำถามว่า ทำอย่างไร
การจำลองตอบคำถามทำอย่างไร แบ่งเป็น 2 ประเภท 1.การจำลองขั้นตอน (Procedural Simulation) 2.การจำลองสถานการณ์ (SituationalSimulation)
1.การจำลองขั้นตอน (Procedural Simulation) อธิบายลำดับการเรียนให้ผู้เรียนจัดการกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ได้ เช่น การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
1.การจำลอง สถานกการณ์ (Situational Simulation) มุ่งเน้นแนวคิด เจตคติ พฤติกรรมของผู้เรียนเป็นสำคัญ
การจบบทเรียนช่วยสอน/การออกจากโปรแกรม 1. ส่วนนี้ควรมีคำถามในการยืนยันการออกจากโปรแกรม 2. ส่วนสรุปเพื่อให้ผู้เรียนยืนยันการกลับเข้าสู่บทเรียน / ออกจากบทเรียน 3. ส่วนที่ผู้เรียนตรวจสอบบทเรียนว่าเรียนครบหรือไม่
การจบบทเรียนช่วยสอน/การออกจากโปรแกรม 4. คำนวณและเก็บบันทึกและแสดงคะแนนรวมของผู้เรียนได้ 5. เปรียบเทียบเกณฑ์การเรียนของผู้เรียนกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 6. สรุปเนื้อหาและแหล่งความรู้อื่น ในการศึกษาเพิ่มเติ่ม