แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Advertisements

“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
การประกันคุณภาพภายนอก
งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
แผนปฏิบัติตามกรอบอำนาจหน้าที่ของ คณะอนุกรรมาธิการความสัมพันธ์ เศรษฐกิจ การศึกษา มิตรภาพ ไทย-จีน-อาเซียน ตามประกาศกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร ที่
การพัฒนาครูพลศึกษาในประเทศไทย
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินสภามหาวิทยาลัย
การประกันคุณภาพการศึกษา
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
พันธกิจและแนวทางพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก โดยใช้รูปแบบกัลยาณมิตร
การประกันคุณภาพการศึกษา
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
การประเมินผลการเรียน
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
การวัดผล (Measurement)
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
วันศุกร์ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
บทบาท หน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับห้องปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารในตลาดอาเซียนของกรมวิชาการเกษตร วันพุธที่ 9 กรกฎาคม 2557 ณ โรงแรมมารวย.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน

คณะอนุกรรมการพัฒนา มาตรฐานและเกณฑ์สำหรับการ ประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย - ผู้ทรงคุณวุฒิในหลายสาขาวิชา : อักษรศาสตร์ นิติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ - ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา : รัฐและ เอกชน - นักวิจัย : สกว. นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ - ผู้เกี่ยวข้อง QA: ผู้รับผิดชอบงาน QA ผู้ประเมินภายนอก - สกอ. - ผู้ใช้ : สภาหอการค้าฯ สภา อุตสาหกรรมฯ

พรบ. การศึกษาแห่งชาติ มาตรา ๕๑ “ ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอก ของสถานศึกษาใด ไม่ได้ตาม มาตรฐาน ที่กำหนด ให้ สมศ. จัดทำ ข้อเสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขต่อ หน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้ สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายใน ระยะเวลาที่กำหนด หากมิได้ ดำเนินการดังกล่าว ให้ สมศ. รายงานต่อคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน คณะ กรรมการการอาชีวศึกษา หรือ คณะกรรมการ การอุดมศึกษาเพื่อให้มีการปรับปรุง แก้ไข ”

“ มาตรฐานการศึกษา ” ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และ มาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้น ในสถานศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้ เป็นหลักในการเทียบเคียง สำหรับการส่งเสริม และกำกับ ดูแล การตรวจสอบ การ ประเมินผล และ การ ประกันคุณภาพการศึกษา

“ การรับรองมาตรฐาน ” การให้การรับรองการทำการประเมินคุณภาพภายนอก ของผู้ประเมินภายนอกที่มีคุณลักษณะและคุณภาพ ที่พึงประสงค์ตามหลักเกณฑ์และมาตรฐาน ที่สำนักงานกำหนด

แนวคิดการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบต่อไป ๑. กัลยาณมิตรประเมิน สะท้อนความจริง + ปรารถนาให้เกิดการพัฒนา ๒. สัญญาณจากรัฐบาล rating & ranking ๓. การประสานความร่วมมือ ๓ ภาคี สกศ. สกอ. สมศ.

๔. การรับรองมาตรฐาน คุณภาพการศึกษา ข้อพึงพิจารณา ( ต่อ ) ๑ ) ความหลากหลายของ สถาบันการศึกษา : พัฒนาการ พันธกิจ ภารกิจ ประเภท ๒ ) จุดเน้นของแต่ละสถาบัน ๓ ) Best practices & Lesson learnt ระดับสากล : UK USA FR

๔. การรับรองมาตรฐาน คุณภาพการศึกษา ข้อพึงพิจารณา ( ต่อ ) ๔ ) อธิบายได้ในระดับสากล ๕ ) มุ่งสู่สากล ๖ ) หา KPI และ เกณฑ์ที่ เหมาะสม ; จำนวน KPI ไม่มากจนเกินไป ; KPI ในเชิงปริมาณ

๔. การรับรองมาตรฐานคุณภาพ การศึกษา ข้อพึงพิจารณา ( ต่อ ) ๗ ) บริบทสถาบันอุดมศึกษาไทย และสังคมไทย - การแบ่งประเภทสถาบัน league : เน้นความเชี่ยวชาญ เน้น วิชาการ : เน้นวิจัย เน้นการเรียนการ สอน เน้นบริการชุมชน - สถาบันเป็นผู้ตัดสินว่าจะ อยู่ในประเภทใดตามเกณฑ์ที่ กำหนด

๔. การรับรองมาตรฐาน คุณภาพการศึกษา ข้อพึงพิจารณา ( ต่อ ) ๘ ) ตก / ผ่าน - รับรอง - รับรอง แบบมีเงื่อนไข - จะรับรอง เมื่อปรับปรุงได้ ตามเงื่อนไข - ยังไม่รับรอง

๔. การรับรองมาตรฐาน คุณภาพการศึกษา ข้อพึงพิจารณา ( ต่อ ) ๙ ) หารือประชาคมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความ ยอมรับ ๑๐ ) จะรีบดำเนินการพัฒนา ระบบฯ และประกาศ ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ ๑๑ ) อย่าวิตกจนเกินเหตุ อย่าปล่อยปละละเลย จนเกินไป

ขอรับฟัง ความคิดเห็น