สถานการณ์ค้าปลีก ค้าส่ง 2008

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
Advertisements

สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ทอฟฟี่มะละกออัลมอนด์
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
ตัวอย่าง SWOT Analysis
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
BA2301 หลักการตลาด การค้าปลีกและการค้าส่ง
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
ระบบการบริหารการตลาด
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การวางแผนกลยุทธ์.
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
“GodZilla and Armageddon” “ตำนานที่ไม่รู้จบแห่งประเทศไทย”
เศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ (Creative Economy)
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
แผนการดำเนินโครงการโชห่วยช่วยชาติ “ร้านถูกใจ”
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
วิเคราะห์ความขัดแย้งจากบทความ
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
SMEs SMALL MEDIUM ENTERPRIS ES วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ในกิจการ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร พาณิชยกรรม ธุรกิจบริการ.
TESCO RIMPING DAISO Analysis
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
กลุ่มที่ 4.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ชุมชนและโรงไฟฟ้า กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บทที่ 5 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
การจัดการส่วนประสมการตลาดในช่องทางการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
Home Builder Industrial. จุดเด่นของธุรกิจรับ สร้างบ้าน ธุรกิจที่ไม่ได้อาศัยเงินลงทุนสูง เข้ามาดำเนินธุรกิจง่าย ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค แบบบ้านที่สามารถ.
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ค้าปลีก ค้าส่ง 2008 กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา

สถานการณ์ค้าปลีก-ค้าส่งทั่วไปในประเทศไทย2007-2008 2541 – 2548 ค้าปลีกมีการขยายตัวร้อยละ 3 ต่อปี อยู่ในสภาวะชะลอตัวตามสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ณ ปี 2548 มีธุรกิจค้าปลีก ค้าส่งทั้งสิ้น 752,196 ราย คิดเป็นร้อยละ 33 ของ SMEs ทั่วประเทศ อยู่ในสภาวะการเมืองผันผวนและรอร่างกฎหมายค้าปลีกให้ผ่านการพิจารณาในปลายปี 2007 อยู่ในสภาวะเสี่ยงกับสภาวะเศรษฐกิจถดถอย เพราะราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้น ผู้บริโภคเริ่มลดการบริโภคและใช้สอยอย่างประหยัด เกิดการต่อต้านสาธารณะและผลักดันกฎหมายต่างๆ เพื่อให้ค้าปลีกดั้งเดิมอยู่รอด Ref: http://www.banmuang.co.th/economic.asp?id=134533 24 Feb 2008

สถานการณ์ค้าปลีกภูธร “ทำไมกลุ่มทุนขนาดใหญ่จึงสนใจตลาดภูธร” สถานการณ์ค้าปลีกภูธร “ทำไมกลุ่มทุนขนาดใหญ่จึงสนใจตลาดภูธร” เกิดการรุกคืบของกลุ่มทุนค้าปลีกขนาดใหญ่สู่ภูธร มีความได้เปรียบด้านเงินทุนเทคโนโลยี พฤติกรรมผู้บริโภคภูธรเปลี่ยนไป มีกลยุทธ์ตอบสนองความต้องการผู้บริโภคภูธรได้ดีกว่า ความอิ่มตัวของการค้าปลีกในเมืองหลวง Model แห่งการเปลี่ยนแปลงธุรกิจค้าปลีก 2007-2008 Ref: http://www.banmuang.co.th/economic.asp?id=134533 24 Feb 2008

ข้อมูลการรุกคืบของค้าปลีกข้ามชาติสู่ภูธร ในปี 2550-51 มีการรุกคืบของค้าปลีกส่วนกลางขนาด > 5,000 ตร.ม. สู่ภูธร > 145 สาขา ปี 2540 - 45 มีอัตราการเติบโตเพียง 3.4 สาขาต่อปี หรือประมาณ 7% ปี 2545 – 50 มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นมากถึง 17.4 สาขาต่อปี หรือ20% มีการวางแผนรุกคืบเข้าสู่จังหวัดภูธรที่มีรอยต่อติดกับชายแดน เพื่อหวังลูกค้าจากประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ อ. แม่สาย จ.เชียงราย อ. แม่สอด จ.ตาก และ จ.น่าน การรุกคืบของค้าปลีกส่วนกลางในรูปแบบ C-Store และ Supermarket ที่มีในส่วนภูธร > 2,500 จะเพิ่มขึ้นในปี 2551 อย่างต่อเนื่อง Ref: http://www.banmuang.co.th/economic.asp?id=134533 24 Feb 2008

วิเคราะห์สภาพแวดล้อมตลาดค้าปลีกภูธร 2551 สถานการณ์เชิงบวก / จุดแข็ง /โอกาส จุดแข็งของค้าปลีกท้องถิ่น ค้าปลีกท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อลูกค้ามากกว่า ค้าปลีกท้องถิ่นมีความใกล้ชิดกับลูกค้าและล่วงรู้ความต้องการเชิงลึก (Consumer Insight) มากกว่า ค้าปลีกขนาดเล็กควบคุมต้นทุนให้ต่ำลงได้ดีกว่า เพราะมี Overhead cost ต่ำกว่า ค้าปลีกขนาดเล็กมีความคล่องตัวกว่า เข้าถึงแหล่งซื้อและจัดการ Logistics ง่ายกว่า โอกาสที่เอื้ออำนวย รัฐบาลใหม่นำนโยบายช่วยเหลือชุมชนกลับเข้ามาใหม่ เช่น กองทุนหมู่บ้าน SML ทำให้มีเงินหมุนเวียนและเสริมสภาพคล่องได้ ความพยายามผลักดัน พรบ.ค้าปลีกค้าส่งฯ ในรัฐบาลนี้จะช่วยชะลอการขยายตัวของค้าปลีกจากส่วนกลางได้ระดับหนึ่ง สถานการณ์เชิงลบ / จุดอ่อน / ข้อจำกัด จุดอ่อนของค้าปลีกท้องถิ่น การเข้าสู่ตลาดของค้าปลีกส่วนกลางทำให้ท้องถิ่นเกิดความตื่นเต้น ส่งผลให้ลูกค้าโน้มเอียงไปใช้บริการของรายใหม่เสมอ การบริหารจัดการของค้าปลีกส่วนกลางมีเทคนิคและกลยุทธ์ที่รุนแรงและสร้างความแปลกใหม่ในตลาดได้เหนือกว่าในท้องถิ่น ค้าปลีกรายย่อยในท้องถิ่นมีปริมาณการซื้อน้อย ต้นทุนซื้อสูง จึงไม่สามารถแข่งขันด้านราคากับรายใหญ่หรือส่วนกลางได้ ค้าปลีกท้องถิ่นขนาดเล็ก ขนาดนวัตกรรม ขาดเทคโนโลยี ขาดความทันสมัยและคุณภาพที่จะแข่งขันได้ ข้อจำกัดและอุปสรรค พฤติกรรมผู้บริโภคเริ่มเปลี่ยนแปลงไป มีความต้องการชีวิตที่ทันสมัยและคุณภาพชีวิตสูงขึ้น มีความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจ ที่ชะลอตัวและผลจากวิกฤตราคาน้ำมันที่ทำให้การบริโภคอาจลดลง และผู้บริโภคประหยัดขึ้น อุปสรรคจากคู่แข่งรายใหญ่จากส่วนกลางที่ให้ความสนใจพื้นที่ในภูธรเพิ่มขึ้น ที่มา : ศูนย์วิจัยกสิกรไทย

วิวัฒนาการของธุรกิจค้าปลีกในจังหวัดเชียงใหม่ ช่วงปี สถานการณ์ ช่วงที่ 1 ระหว่างก่อน พ.ศ. 2532 - 2535 ยุคทุนท้องถิ่นค้าปลีกครองตลาดเบ็ดเสร็จ เครือข่ายที่ใหญ่ที่สุด คือ ตันตราภัณฑ์ ช่วงที่ 2 ประมาณ พ.ศ. 2535 - 2540 ยุคทุนส่วนกลางรุกสู่ภูมิภาคได้แก่ เซ็นทรัล-กาดสวนแก้ว 2538 สยามแม็คโคร 2540 เซ็นทรัล แอร์พอร์ทพลาซ่า ช่วงที่ 3 ประมาณ พ.ศ. 2541 – ปัจจุบัน ยุคการทยอยเข้ามาของห้าง Modern Trade ใน จ.เชียงใหม่ เริ่มแรกโอชอง …(BigC) คาร์ฟูร์ และโลตัส (ปัจจุบันมี BigC และโลตัสอย่างละ 2 สาขา)

การค้าปลีกประเทศไทยในปัจจุบัน กับการเข้ามาของกลุ่มทุนต่างชาติ อ.กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา

เหตุผลหลักที่ธุรกิจค้าปลีกข้ามชาติเข้ามาลงทุนในไทย ในปี พ.ศ. 2544 ประเทศไทยได้เปิดการค้าเสรี ภายใต้กรอบ WTO การเปิดเสรีการค้าปลีกภายใต้ข้อตกลง GATT การยกเลิกกฎหมายปว.281 การใช้ พรบ. การประกอบกิจการของคนต่างด้าวแทน กระทรวงพาณิชย์ระบุว่าธุรกิจการค้าทั้งระบบของไทยมีมูลค่าประมาณ 1.6 ล้านล้านบาท และคาดว่าในปี 2544 จะเพิ่มเป็น 2 ล้านล้านบาท (ผู้จัดการรายวัน, Aug. 15, 2000) ECR Thailand พบว่า ในปี 1999 จำนวนธุรกิจค้าปลีกดั้งเดิม ต่อธุรกิจร้านค้าสมัยใหม่ คิดเป็นอัตราส่วน 60:40 และคาดการณ์ว่าธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่จะมีอัตราการ เติบโตสูงถึง 150% ในปี 2544 นี้ ปว.281 คือ ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 281 ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาอาชีพสงวนสำหรับคนไทย

ความเป็นมาของธุรกิจค้าปลีกในประเทศไทย ยกเลิก ปว.281 ค้าเสรี WTO , GATT ปี 2544 รัฐบาลทักษิณมีมูลค่าการเติบโตของธุรกิจไทยสูงมาก

โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มทุนต่างชาติ ตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผู้ถือหุ้นของธุรกิจค้าปลีกในช่วง 2541-2548 ชื่อธุรกิจ โครงสร้างเริ่มต้น โครงสร้างเมื่อปี 2542 โครงสร้างปัจจุบัน บ.เอกชัยดิทริบิวชั่นซิสเต็ม กลุ่มซีพีถือหุ้น 100% จัดตั้งบ.ใหม่ ชื่อ บ.เทสโก้สโตร์(ประเทศไทย)จำกัด เทสโก้ Eng ถือหุ้น 49% ซีพี 51% เทสโก้อังกฤษ 98% ซีพี 2% บ.บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) ของกลุ่มเซ็นทรัลรีเทล กลุ่มกาสิโน(ฝรั่งเศส) ถือหุ้นใหญ่ 66% เซ็นทรัล13% รายย่อย 21% กาสิโน63.18% จิธาธิวัฒน์ 11.75% รายย่อย 25.07% บ. เซ็นคาร์ โดยกลุ่มคาร์ฟูร์(ฝรั่งเศส)40%และ SSCP 60% คาร์ฟูร์จากฝรั่งเศส100% ในคาร์ฟร์ไฮเปอร์มาเก็ต SSCP Holding 60% คาร์ฟูร์ 40% SHV holding41.7%,CP26.1% รายย่อย32.2% SHV 90% CP 10% ฐานเศรษฐกิจ อ้างใน พัชรี ทองเหลืองสุข ผลกระทบของการขยายตัวของดิสเคานท์สโตร์ที่ส่งผลต่อร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมก่อนและ หลังมีการปรับปรุงในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ หอการค้าไทย , 2549

จำนวนสาขาของดิสเคานท์สโตร์ในประเทศไทย (2542-2548)

ค้าปลีกข้ามชาติขนาดใหญ่เหล่านี้ทำให้ค้าปลีกรายย่อย (โชห่วย) ยอดขายลดลง ปิดกิจการและมีจำนวนทั่วประเทศลดลง เกิดการแก้ปัญหาเพื่อช่วยเหลือค้าปลีกรายย่อย ทั้งด้านกฎหมาย การเมือง และเทคนิคทางบริหารจัดการ

Problem : Critical in Thailand Retailing ผลกระทบจากการที่รัฐเปิดเสรีทางการค้า ภายใต้เงื่อนไขกับ WTO เมื่อหลายปีก่อนส่งผลให้ค้าปลีกข้ามชาติเข้ามาจับจ่ายใช้สอยทรัพย์สินที่ราคาตกต่ำในประเทศไทยอย่างสนุกมือ มิหนำซ้ำยังสร้างธุรกิจขนาดยักษ์ที่หวังจะให้ธุรกิจรายย่อยสูญพันธ์ ด้วยการลดราคาสินค้าอุปโภค-บริโภค กระหน่ำกันอย่างบ้าเลือด ทำให้ค้าปลีกรายย่อยแทบจะย่อยสลาย ธุรกิจข้ามชาติขนาดยักษ์มีอำนาจต่อรองสูงมาก ทำให้บรรดาผู้ผลิตต้องยอมขายส่งในราคาต่ำกว่าที่เคยทำ แต่ไม่มีผู้ผลิตรายใดที่ยอมเฉือนเนื้อตัวเอง จึงต้องทำทุกวิถีทางเพื่อลดต้นทุนการผลิต ได้แก่ ลดค่าแรงพนักงาน เพิ่ม OT ลดต้นทุนวัตถุดิบ คุณภาพลดลง ปลดพนักงานออก เลิกจ้าง เลิกโบนัส หรือหันไปบีบราคาเกษตรกรหรือผู้ผลิตวัตถุดิบ เป็นต้น

Problem : Critical in Thailand Retailing เกิดการผลักดันกฎหมายต่างๆ เพื่อควบคุมการขยายตัว และลดบทบาทต่างๆ ของค้าปลีกขนาดใหญ่ กฎหมายที่เกี่ยวข้องได้แก่ พรบ. ผังเมือง พ.ศ. 2518 พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 พรบ. การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 พรบ. การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 พรบ. การประกอบธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง พ.ศ. 2550 รัฐบาลริเริ่มบริษัทกลางเพื่อช่วยเหลือธุรกิจค้าปลีก ได้แก่ บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็ง จำกัด เมื่อปี 2545

Problem : Critical in Thailand Retailing จาก พรบ. ผังเมือง และ พรบ. ควบคุมอาคาร ที่ภาครัฐนำมาบังคับใช้เพื่อลดบทบาทการขยายตัวของธุรกิจค้าปลีกข้ามชาติเหล่านั้นส่งผลให้บางกิจการแก้เกมส์ ทำให้สถานการณ์เลวร้ายลงไปอีก คือ การรุกคืบของค้าปลีกสมัยใหม่ ด้วยการ Downsize รุกเข้าสู่ชุมชน