PRA (Participatory Rural Appraisal) ภาสกร นันทพานิช pnuntapanich@hotmail.com
Character of PRA Item PRA Developed in Late 1980s to 1990s Key resource Local people’s capabilities Main innovation Change in behavior and Attitudes Mode Facilitating Tools Visual Outsiders’ role Facilitator Insiders’ role Presenter and Analyze Ideal objective Empowerment of local people
Basic Methods of PRA Planning and preparing before PRA Direct observation Visual sharing Semi-structure dialogue Focus group dialogue Triangulation or cross checking
ขั้นตอนและเครื่องมือในการทำ PRA Phase Objective Suggested PRA tools ระยะเตรียมการ วางแผน และออกแบบการศึกษาชุมชน participatory workshop ระยะดำเนินการระยะที่ 1 ศึกษาชุมชนในด้านกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจและสังคมของชุมชน ทำความเข้าใจกับประสบการณ์ที่ผ่านมาของชุมชน (Historical profile) Village walk Village map Social map Village transect (transect line) Time line
ขั้นตอนและเครื่องมือในการทำ PRA (ต่อ) Phase Objective Suggested PRA tools ระยะดำเนินการระยะที่ 2 ศึกษาการดำเนินวิถีชีวิตของชุมชน และระบบการดำเนินชีวิตของประชาชนในชุมชน ทำความเข้าใจเชิงลึกกับกิจกรรมของชุมชน Seasonal calendar Resource flow diagram Venn diagram Trend analysis Cause-effect diagram Problem ranking
ขั้นตอนและเครื่องมือในการทำ PRA (ต่อ) Phase Objective Suggested PRA tools ระยะดำเนินการระยะที่ 3 เพื่อจำแนก และจัดลำดับประเด็นในการพัฒนาชุมชน Matrix ranking ระยะดำเนินการระยะที่ 4 เพื่อจำทำแนวทางในการพัฒนา และ ทำ แผนปฏิบัติการ SWOT Analysis TOWS Matrix Action Plan Matrix
การออกแบบกระบวนการการวิเคราะห์ชุมชนแบบมีส่วนร่วม ขั้นที่1 กำหนดประเด็นหลัก/ประเด็นรอง ขั้นที่ 2 แตกกรอบคำถามย่อย(ข้อมูลที่ต้องการ) ขั้นที่ 3 ออกแบบวิธีการ/เครื่องมือ คำถามใหญ่(ประเด็นหลัก) ประเด็นรอง แตกคำถามย่อย (ข้อมูลที่ต้องการ) วิธีการศึกษา/ เครื่องมือ ระบบเกษตรในชุมชน สภาพระบบการเกษตรในปัจจุบันของครอบครัว สภาพระบบการเกษตรในปัจจุบันของชุมชน พัฒนาการการเปลี่ยนแปลงระบบเกษตรของชุมชน ระบบการเกษตรมีอะไรบ้าง ทำอย่างไร/เมื่อไร ปัจจัยการผลิต เมล็ดพันธุ์ ใช้อะไรบ้าง จำนวนเท่าไร ราคา แปลงเกษตรอยู่ทีไหน กี่แปลงจำนวนที่ดิน ระบบกรรมสิทธิ์/ แต่ละที่มีสภาพดิน? --- แบบสอบถาม/ปฏิทินกิจกรรม --- สัมภาษณ์รายครอบครัว (สุ่มตัวอย่าง) --- แผนที่
การปฏิบัติการ การกำหนดประเด็นและข้อมูลที่ต้องการ ประเด็นหลักที่ต้องการ ประเด็นรอง ข้อมูลที่ต้องการ เครื่องมือ/วิธีการ ประวัติชุมชน การก่อเกิด การเปลี่ยนแปลง สถานภาพปัจจุบัน -ช่วงเวลาที่ก่อตั้ง -สาเหตุการก่อตั้ง ผู้ก่อตั้ง -จำนวนครัวเรือนที่มาร่วมตั้ง -เหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ เช่น สาธารณูปโภค การอพยพ -จำนวนครัวเรือนและประชากร Timeline ตารางการเปลี่ยนแปลง
ประเด็นหลักที่ต้องการ ประเด็นรอง ข้อมูลที่ต้องการ เครื่องมือ/วิธีการ การเปลี่ยนแปลงสภาพป่า -สภาพป่าในอดีต -สภาพป่าในระยะเปลี่ยนแปลง -สภาพป่าในปัจจุบัน -พื้นที่ป่า -ความสมบูรณ์ของป่า -ความหลากหลายของพันธุ์ไม้ -ความหลากหลายของสัตว์ป่า -การบุกเบิกพื้นที่ป่า -การใช้ประโยชน์จากป่า -ช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลง แผนที่เดินดิน แผนที่ทรัพยากร ตารางการเปลี่ยนแปลง
ออกแบบเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูล Research question Research Objective Research Method Tools วิธีการใช้เครื่องมือ/การคัดเลือกผู้ให้ข้อมูล 1. ลักษณะ และความสัมพันธ์ทางกายภาพ, ชีวภาพ และเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนบ้าน.....เป็นอย่างไร 1.เพื่อศึกษาบริบทชุมชน บ้าน........
ออกแบบเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูล Research question Research Objective Research Method Tools วิธีการใช้เครื่องมือ/การคัดเลือกผู้ให้ข้อมูล 2.ระบบการเกษตร ของชุมชนบ้าน.. เป็นอย่างไร 3.ปัญหาและ ข้อจำกัดของการทำ การเกษตรในชุมชน บ้าน....มีอะไรบ้าง 2.เพื่อศึกษาระบบการผลิตทางการเกษตรของชุมชนบ้าน....และปัญหาข้อจัดกัดของการทำการเกษตรในชุมชนบ้าน..........
รายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการ การจัดระบบข้อมูล ประเด็นหลัก ประเด็นรอง รายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการ แหล่งข้อมูล หมายเหตุ ลักษณะทางกายภาพ 1.ดิน 1.1 ชุดดินอะไร 1.2 เนื้อดินอะไร 1.3 ความอุดมสมบูรณ์ของดินเป็นอย่างไร โปรแกรม Soil view 2. น้ำ 2.1 จำนวนแหล่งน้ำในชุมชน 2.2 จำนวนแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร 2.3 จำนวนแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2.4 คุณภาพของแหล่งน้ำในการอุปโภคบริโภค 2.5 การใช้ประโยชน์ ช่วงเวลา/วัตถุประสงค์ในการใช้/ การเพียงพอ สัมภาษณ์ KI
การจัดระบบข้อมูล Topic Sub-topic รายละเอียดของข้อมูล แหล่งข้อมูล/วิธีการ หมายเหตุ ลักษณะทางกายภาพ ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศในชุมชน การใช้ประโยชน์ของพื้นที่ตามลักษณะภูมิประเทศ Village walk สัมภาษณ์ KI ทำ Transect line ช่วยทำความเข้าใจ ลักษณะการตั้งบ้านเรือน การกระจายของครัวเรือนในชุมชน Village walk ทำ Village map ช่วยทำความเข้าใจ
คำถามที่ 1 ถ้าเราจะไปทำการศึกษาชุมชนเราจะออกแบบการศึกษาชุมชนอย่างไร และมีขั้นตอนในการศึกษาอย่างไร
การวางแผน/ขั้นตอนในการศึกษาชุมชน คัดเลือกชุมชนเป้าหมาย จัดทีม กำหนดกรอบประเด็นการศึกษาชุมชน (Research Question, Objective, Topic/Sub-topic) จัดหาข้อมูลมือสอง ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลมือสอง (Secondary data) กำหนดวิธีการศึกษาชุมชน (เก็บรวบรวมข้อมูล) ที่สัมพันธ์กับกรอบประเด็น (Topic, sub-Topic) จัดทำเครื่องมือ/ในการเก็บรวบรวมข้อมูล กำหนด KI
การวางแผน/ขั้นตอนในการศึกษาชุมชน (ต่อ) แบ่งทีมย่อย/ แบ่งหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประสานชุมชน เข้าชุมชน / ค้นหา Core team (ถ้าทำได้) และค้นหา KI (ในกรณีที่ KI ไม่ชัดเจน) เก็บรวมรวบข้อมูลตามกรอบประเด็น สรุปบทเรียนจากการปฏิบัติหลังทำ (After action review) วิเคราะห์ข้อมูล จัดลำดับความสำคัญของประเด็นวิจัย และพัฒนา หรือจัดทำเป็นแผนการพัฒนาชุมชนโดยให้เห็นประเด็นวิจัย (โจทย์วิจัยเพื่อพัฒนา (วิจัยชุมชน)) เขียนรายงานการศึกษาชุมชน
ชุดคำถาม คำถามที่ 1 : ถ้าจะทำความเข้าใจชุมชนจะต้องใช้เครื่องมืออะไรในการเก็บรวบรวมข้อมูล ? และ มีวิธีการในการใช้เครื่องมือนั้นๆ อย่างไร ? คำถามที่ 2: ถ้าจะทำความเข้าใจครัวเรือนในชุมชนจะต้องใช้เครื่องมืออะไรในการเก็บรวบรวมข้อมูล ? และมีวิธีการในการใช้เครื่องมือนั้นๆ อย่างไร ?
คำถามที่ 3 องค์ประกอบของการสัมภาษณ์มีอะไรบ้าง ? ขั้นตอนและกระบวนการในการสัมภาษณ์เป็นอย่างไร