อุณหภูมิและอุณหภูมิจุดน้ำค้าง
อุณหภูมิและอุณหภูมิจุดน้ำค้าง มีหน่วยวัดอยู่ ๒ หน่วย คือ ฟาเรนไฮท์ และเซลเซียส 2 ตำแหน่ง ตามด้วยทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น 30.5 °C การส่งข่าว ส่งแค่ 2 ตำแหน่ง ถ้าไม่มีข้อมูลให้เว้นว่างไว้ ถ้าติดลบให้ ใส่ M ( MINUS ) หน้าอุณหภูมิ
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบแกว่ง - สถานที่ที่เหมาะสมในที่ร่มหรือภายในรัศมี 3 – 4 ฟุตไม่มีสิ่งกีดขวาง - หันหน้าเข้าหาลม ยกเครื่องวัดอุณหภูมิไปข้างหน้าในระดับเอว โดยหมุน ๒ รอบต่อวินาที - เมื่อใช้งานเสร็จแล้วให้เก็บในที่ร่มและไม่ให้อยู่ใกล้แหล่งความร้อน
ขั้นตอนในการใช้เครื่องวัดอุณหภูมิแบบแกว่ง เมื่อนำผ้ามัสลินของอุณหภูมิตุ้มเปียกชุบน้ำให้ชุ่มแล้ว ครั้งที่ 1 หมุน ประมาณ 15 วินาที หรือ 30 ครั้ง ครั้งที่ 2 ให้หมุน 10 วินาที หรือ 20 ครั้ง ครั้งที่ 3 ให้หมุน 5 วินาที หรือ 10 ครั้งเมื่ออ่านหลายครั้งติดต่อกันจนได้อุณหภูมิคงที่ เมื่อได้ค่าใกล้เคียง 0.1 องศาเซลเซียส ให้อ่านอุณหภูมิตุ้มเปียก และอ่านอุณหภูมิตุ้มแห้งทันที ทำการบันทึกข้อมูลทั้งสอง หมายเหตุ ถ้าอุณหภูมิตุ้มเปียกเพิ่มขึ้นในระหว่างการอ่าน ให้เริ่มทำซ้ำใหม่ตามขั้นตอนครั้งที่ 3
ความชื้น R.H.( % )
ความชื้นสัมพัทธ์ หน่วยเป็น เปอร์เซ็นต์ ความชื้น R.H.( % ) ความชื้นสัมพัทธ์ หน่วยเป็น เปอร์เซ็นต์ BR = ความชื้นตั้งแต่ 75 % ขึ้นไป HZ = ความชื้นตั้งแต่ 74 % ลงมา
การหาค่าอุณหภูมิจุดน้ำค้างและความชื้น ( COMPUTER PSYCHROMETRIC ) จากแผ่นคำนวณ ( COMPUTER PSYCHROMETRIC )
การหาค่า ความชื้น จากแผ่น COMPU
อุณหภูมิจุดน้ำค้าง 27.5 °c อุณหภูมิตุ้มแห้ง 31.2 อุณหภูมิตุ้มเปียก 28.4 27.5 °C 28.4 °C 2.8 อุณหภูมิตุ้มแห้ง 31.2 °c อุณหภูมิจุดน้ำค้าง 27.5 °c
การหาค่า ความชื้น จากแผ่น COMPU ค่าความชื้น 81 %