งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Adult Basic Life Support

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Adult Basic Life Support"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Adult Basic Life Support
สมพงษ์ ชลคีรี พบ.

2 Adult Chain of Survival

3

4 ๕ ก. ช่วยหายใจ ๑ ครั้งทุก ๕ ถึง ๖ วินาที ตรวจเช็คชีพจรซ้ำทุก ๒ นาที
๑. พบผู้หมดสติ ๒. โทรศัพท์เรียกหาผู้ช่วย ”1669” ๓. เปิดทางเดินหายใจ เช็คการหายใจ ๔. ถ้าไม่หายใจ ช่วยหายใจ ๒ ครั้ง ได้ ๕ ก. ช่วยหายใจ ๑ ครั้งทุก ๕ ถึง ๖ วินาที ตรวจเช็คชีพจรซ้ำทุก ๒ นาที ๕. เช็คชีพจรที่คอ ไม่ได้ ๖. กดหน้าอก ๓๐ ครั้งสลับกับช่วยหายใจ ๒ ครั้ง จนกว่า AED หรือ ALS ทีมมาถึง ๗. AED มาถึง ๘. เช็คจังหวะการเต้น แนะให้ช็อก ไม่แนะให้ช็อก ๙. ช็อก ๑ ครั้ง ต่อด้วย CPR ๕ รอบ ๑๐. CPR ต่อ ๕ รอบ เช็คจังหวะการเต้นทุก ๕ รอบ

5 กรณีจมน้ำให้ CPR ก่อน ๑ รอบ (๒นาที) จึงเรียกหาความช่วยเหลือ
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ตรวจสอบโดยการเรียก เรียกหาความช่วยเหลือ หาคนช่วยในพื้นที่ เรียกระบบฉุกเฉิน เช่น EMS เรียกหา AED ข้อยกเว้น กรณีจมน้ำให้ CPR ก่อน ๑ รอบ (๒นาที) จึงเรียกหาความช่วยเหลือ

6

7 ผู้ป่วยที่หายใจแบบ air hunger ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับหยุดหายใจ
เปิดทางเดินหายใจ และตรวจสอบการหายใจ จัดท่านอนหงายราบ เปิดทางเดินหายใจโดย ใช้ Head -tilt and Chin-lift ในกรณีไม่บาดเจ็บ Jaw-thrust and Chin-lift กรณีการบาดเจ็บ และประคับประคองคอด้วยมือ ตรวจสอบการหายใจในเวลา ๑๐ วินาที ตาดู หูฟังแก้มสัมผัส หมายเหตุ ผู้ป่วยที่หายใจแบบ air hunger ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับหยุดหายใจ

8

9 กรณีไม่หายใจ ช่วยหายใจ ๒ ครั้งด้วย
ช่วยหายใจ ๒ ครั้งด้วย Mouth-to-mouth Mouth-to-mask Bag –to-mask Bag-to-tube เป่าลมเข้าในระยะเวลา ๑ วินาทีให้เห็นการขยายของทรวงอก พักสูดหายใจปกติ แล้วเป่าลมเข้าอีกครั้งใน ๑ วินาที หมายเหตุ ต้องเปิดทางเดินหายใจให้ได้ตลอดขณะช่วยหายใจ ไม่เป่าหรือบีบ Bag แบบกระแทกเร็ว ๆ กรณีมี Tube อยู่แล้วให้ช่วยหายใจในอัตรา ๘-๑๐ ครั้งต่อนาที กรณีมีความพร้อม เปิด Oxygen ๑๐-๑๒ ลิตร/นาที

10

11

12

13

14 ตรวจสอบชีพจร คลำชีพจรที่คอ ใช้เวลาตรวจสอบไม่เกิน ๑๐ วินาที หมายเหตุ
ใช้เวลาไม่เกิน ๑๐ วินาที กรณีไม่แน่ใจให้ตัดสินว่าไม่มีชีพจร กรณีผู้ช่วยไม่ใช่บุคลากรการแพทย์ ให้ตัดสินไปเลยว่าผู้หมดสติที่ไม่หายใจนั้นชีพจรหยุดเต้นโดยไม่ต้องตรวจคลำชีพจร

15

16 5a. มีชีพจร(แต่ไม่หายใจ)
ช่วยหายใจด้วยอัตราประมาณ ๑๐ – ๑๒ ครั้งต่อนาที หรือ ช่วยหายใจครั้งหนึ่งทุก ๕ – ๖ วินาที การช่วยหายใจแต่ละครั้งใช้เวลาเป่าลมเข้าใน ๑ วินาที ตรวจเช็คชีพจรทุก ๒ นาที หมายเหตุ ต้องเปิดทางเดินหายใจให้ได้ ถ้าพร้อมต้องมีการให้ Oxygen เสริม

17 ไม่มีชีพจร กดหน้าอก ๓๐ ครั้งสลับกับช่วยหายใจ ๒ ครั้ง
ตำแหน่งที่กึ่งกลางกระดูกหน้าอก กดให้ได้ลึก ๑.๕ – ๒ นิ้วและปล่อยให้ขยายตัวจนสุด อัตราการกดหน้าอกประมาณ ๑๐๐ ครั้งต่อนาที ไม่หยุดจนกว่าจะมีทีม ALS หรือมีเครื่อง EAD มาถึง หมายเหตุ ผู้ช่วยเหลือควรอยู่ด้านข้างของผู้ป่วย ต้องกดอย่างต่อเนื่องโดยไม่หยุด แขนตรง มือสัมผัสหน้าอกตลอดเวลา อัตรา ๓๐ : ๒ ทั้งการช่วยคนเดียวและสองคน ประเมินชีพจรเมื่อครบ ๒ นาที หรือ ๕ รอบ

18

19 7, 8 เมื่อเครื่อง EAD มาถึง
เปิดเครื่องกดปุ่ม “diagnose”

20 Shockable rhythm กดปุ่ม “Shock” ๑ ครั้ง
CPR ต่ออีก ๔ รอบ หรือ ๒ นาทีแล้วเช็คชีพจรและ rhythm

21 Not Shockable CPR ต่อ เช็คชีพจรและ rhythm ทุก ๔รอบ หรือ ๒ นาที
ไปจนกว่า ทีม ALS จะมาถึง

22 Drowning สาเหตุการเสียชีวิตจากการจมน้ำมักเกิดจากขาดอากาศหายใจเนื่องจาก Reflex Laryngospasm การทำ CPR ให้เร็วที่สุด โดยเฉพาะการเปิดทางเดินหายใจและการช่วยหายใจ(แม้เมื่อขณะกำลังเอาขึ้นจากน้ำ) จะช่วยชีวิตได้มากที่สุด ควรรีบนำผู้ป่วยขึ้นจากน้ำให้เร็วที่สุด เพราะการกดหน้าอกในน้ำไม่ได้ผล การป้องกันกระดูกคอ จำเป็นก็ต่อเมื่อประวัติการบาดเจ็บน่าสงสัย ไม่มีความจำเป็นต้องเอาน้ำออกจากปากหรือท้องก่อน CPR ในระหว่าง CPR ถ้าอาเจียนออกให้ตะแคงหน้าและ remove FB

23 Hypothermia ระดับของ Hypothermia การปฏิบัติการ CPR เหมือนผู้ป่วยอื่น ๆ
Mild > 34 C : passive external rewarming Moderate 30 – 34 C : active external rewarming Severe < 30 C : active internal rewarming การปฏิบัติการ CPR เหมือนผู้ป่วยอื่น ๆ ในระหว่าง CPR ป้องกันการสูญเสียความร้อนต่อเนื่องโดยการ ถอดเสื้อผ้าที่เปียก การหาเสื้อผ้าแห้ง ๆ ปกคลุม การป้องกันกระแสลม การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยต้องนุ่มนวลเพราะจะกระตุ้นให้เกด VF ได้

24 Foreign Body aspiration
การตรวจพบ หอบเหนื่อย แน่น หายใจลำบาก ไอไม่มีเสียง พูดไม่ได้ เขียว หยุดหายใจ

25 Foreign Body aspiration
การช่วยเหลือ การกระตุ้นไอและเคาะปอด การกดท้อง(Abdominal thrust) การกดหน้าอก(chest thrust)

26

27

28

29 Recovery Position ใช้เพื่อป้องกันการสูดสำลักในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว แต่การหายใจและระบบไหลเวียนดี ไม่ควรใช้ในรายการบาดเจ็บ


ดาวน์โหลด ppt Adult Basic Life Support

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google