ท่าเทียบเรือประมง อ.คุระบุรี จ.พังงา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
รายงานสถานการณ์น้ำท่วมสุราษฎร์ธานี ๒ เม.ย.๒๕๕๔
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
HONDA TRAFFIC EDUCATION CENTER
สำนักงานเกษตรอำเภอปลวกแดง
นาวาโท สมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T.NURSE
“ความรู้เรื่องกฎจราจร” สถานีตำรวจภูธรอำเภอหาดใหญ่
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
น้ำและมหาสมุทร.
พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.
ข้อมูลร่องน้ำบ้านดอน ปากน้ำตาปี จ.สุราษฎร์ธานี
ท่าเรืออเนกประสงค์ดอนสัก (แหลมทวด)จ.สุราษฎร์ธานี
ข้อมูลเดือน ก.ค.๕๔ โดย เรือ ต.๙๕
ท่าเรือแม่น้ำท่าจีน.
ท่าเทียบเรือ ฐท.พังงา.ทรภ.๓
ท่าเรือประจวบคีรีขันธ์
ท่าเทียบเรือศรีบ้านเพ
ท่าเทียบเรืออ่าวบังเบ้า เกาะช้าง
ท่าเรือพาณิชย์แหลมฉบัง
ท่าเทียบเรือสถานีเรือละงู เรือ ต.๒๒๐ เข้าราชการทรภ.๓ ต.ค.๕๓
ท่าเทียบเรือ ฐตร.ทรภ.๑.
ท่าเทียบเรืออ่าวสลัด ก.กูด
การสำรวจปากแม่น้ำปัตตานีท่าเทียบเรือ อบต.บานา
ท่าเรือนิคมอุสาหกรรมมาบตาพุด
ท่าเทียบเรืออ่าวตานิด เกาะหมาก
ท่าเทียบเรือเขาหมาจอ
ท่าเทียบเรือแพปลาสดใส จ.ระนอง เรือ ต.๒๑๔ ปฏิบัติราชการ ทรภ.๓
ท่าเทียบเรือเกาะเสม็ด
ร่องน้ำปราณบุรี.
ท่าเรือศุลกากร.
การจัดการความรู้ ข้อมูลเดือน มิ.ย.๕๔ โดย เรือ ต.๑๖
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
ท่าเทียบเรือ เกาะพยาม จ.ระนอง เรือ ต.๒๑๔ ปฏิบัติราชการ ทรภ.๓
การสำรวจร่องน้ำคลองบางนรา จ.นราธิวาส
การสำรวจบริเวณท่าเทียบเรือเอนกประสงค์ อ.เกาะพะงัน จว.สุราฦษฎร์ธานี
หลักเทียบเรือ ทรภ.๓ แหลมพันวา จ.ภูเก็ต
ข้อบังคับทหาร ว่าด้วยการเคารพ ตอน ๑ ว่าด้วยการเคารพบนรถ
การสำรวจบริเวณท่าเรือซีทรานเฟอร์รี่หาดหน้าทอน เกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี
ท่าเรือ โอเชี่ยน มารีน่า
ร่องน้ำปากน้ำชุมพร เรือ ต.๘๑.
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
แนะนำวิธีการลดการใช้พลังงาน
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
แสดงเส้นทางเดินบุหรี่เถื่อน สุราเถื่อน
รายงานผลการปฏิบัติงาน กองกำกับการ ๑ กองบังคับการตำรวจน้ำ
รายงานผลการปฏิบัติงาน กองกำกับการ ๑ กองบังคับการตำรวจน้ำ
ฤาษีดัดตน ‘Hermit body-contorting exercise’.
รายงานสถานการณ์น้ำท่วมสุ ราษฎร์ธานี ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔ ถึงเวลา ๒๒. ๐๐ น. ของส. ทล. ๕ กก. ๒ บก. ทล.
โครงการออกแบบวางผังแม่บท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณ ทะเลบางแสน ไปเที่ยวกัน
มหัศจรรย์แห่งท้องทะเล
ทะเลแหวก แห่งอันดามัน
จังหวัดสุรินทร์.
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดภูเก็ต
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำเครื่องหมายแสดงในบริเวณเขตระบบการขนส่งน้ำมัน ทางท่อ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 29 กันยายน 2554.
ข้อที่ คำถาม คำตอบ ๑ คิดอย่างไรถึงมาเลี้ยง กุ้งขาว เป็นอาชีพที่ทำกันมานานและ เป็นการทำรายได้มหาศาล ปัจจุบันจะเลี้ยงยาก ๒ในการขุดบ่อควร คำนึงถึงพื้นที่บริเวณใด.
การเขียน.
HONDA TRAFFIC EDUCATION CENTER
ข้อมูลการออกแบบท่าเรือ โครงการท่าเรือน้ำลึกปากบารา ระยะที่1
ภาคใต้.
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
โลกและสัณฐานของโลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ท่าเทียบเรือประมง อ.คุระบุรี จ.พังงา C-110 C-141 เกาะรา(รา) C-110 เกาะจง

ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๑. วันที่สำรวจ ๓๐๑๓๐๐ เม.ย. ๕๔ โดย เรือ ต.๙๖ ๑. วันที่สำรวจ ๓๐๑๓๐๐ เม.ย. ๕๔ โดย เรือ ต.๙๖ ๒. ลักษณะน้ำ/ลม/มาตราน้ำ/ข้างขึ้น-แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ ๓.๘ เมตร จากระดับน้ำลงต่ำสุด ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๕ ทะเลมีคลื่นเล็กน้อย ความเร็วลม ๕-๖ น็อต

๓.ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่ ๓๓๒ เกาะพระทอง ตำบลที่ ท่าเทียบเรือประมง อ.คุระบุรี จ.พังงา ทุ่นไฟปากร่อง ไม่มี

เกาะรา(รา) เกาะจง C-110 C-141 C-110 ท่าเทียบเรือ ลักษณะร่องน้ำ ร่องน้ำมีความลึกเฉลี่ย ๗-๘ เมตร ความกว้างของร่องน้ำในช่วงด้านหลังเกาะรา(ลูกศรสีเหลือง) ประมาณ ๑๐๐๐ หลา ส่วนความกว้างของร่องน้ำในช่วงสุดท้ายจนถึงท่าเทียบเรือ (ลูกศรสีน้ำเงิน) ประมาณ ๒๐๐ หลา น้ำลึกเฉลี่ยในช่วงนี้จนถึงท่าเทียบเรือประมาณ ๒-๓ เมตร ความยาวของร่องน้ำประมาณ ๑ ไมล์ ไม่มีหลักนำในการนำเรือและทุ่นไฟแสดงขอบเขตของร่องน้ำ เกาะจง

การนำเรือเข้าเทียบ/ออกจากเทียบ เข็มเข้าเข็มแรก (แดง) ถือเข็ม ๑๑๐ นำเรือเฉียดปลายด้านทิศเหนือของ ก.รา ประมาณ ๑๐๐๐ หลา ถือเข็มนี้ไปจนแบริ่งปลาย ก.รา ได้ ๒๕๐ ระยะ ๑๖๐๐ หลา จึงเปลี่ยนไปถือเข็มใหม่ เข็มที่สอง(เหลือง) ถือเข็ม ๑๔๑ ใช้เกาะจงเป็น HEADMARK ซึ่งถ้าไม่สามารถมองเห็นเกาะจงได้ ให้ใช้การรักษาระยะจากเกาะราเป็นหลัก เมื่อห่างจากเกาะจง ประมาณ ๑.๒ ไมล์ให้เปลี่ยนไปถือเข็มประมาณ ๑๑๐ หรือประมาณท้ายเรือเกือบจะตรงกับบ้านหลังคาแดงบนเกาะรา ให้พยามนำเรือชิดขอบฝั่งทางด้านซ้ายไว้จะปลอดภัยอย่านำเรือกลางร่องเป็นเด็ดขาดเนื่องจากมีที่ตื้น(สันทรายกลางร่อง) ระยะเฉียดประมาณ ๔๐-๘๐ หลา แต่ไม่ต้องชิดซ้ายมากนัก เนื่องจากปลายแหลมตามรูปที่ ๑ มีสันทรายยื่นออกมาสังเกตได้จากรูป เมื่อพ้นปลายแหลมแล้วจึงนำเรือชิดซ้ายตามที่กล่าวไว้ เมื่อนำเรือได้เกือบครึ่งทางจะสังเกตเห็นทางฝั่งซ้ายจะมีเนินเขาตาม ซึ่งเมื่อถึงบริเวณนี้ให้ระลึกเสมอว่าถ้าที่เรือตกไปทางขวาจะเกิดอันตรายมากเนื่องจากเป็นบริเวณที่มีสันทรายอยู่ ระยะเฉียดบริเวณนี้ควรเฉียดขอบฝั่งอย่างน้อยประมาณ ๔๐ หลา หลังจากนั้นจะพบคลองแยกไปทางซ้ายมือ บริเวณนี้ให้ระมัดระวังที่ตื้นบริเวณปากคลองควรจะเปลี่ยนเข็มไปทางขวาเล็กน้อยเพื่อหลบที่ตื้นบริเวณปากคลองดังกล่าว และจะมองเห็นท่าเทียบเรือประมงอยู่ตรงหัวเรือ

สันทราย

เกาะจง

บ้านหลังคาแดง

เนินเขาอยู่บนฝั่งทางซ้ายของร่องขาเข้า

คลองทางด้านซ้ายมือ

ท่าเทียบเรือ

ลักษณะท่าเรือ โครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กรูปตัว T ทางเข้า กว้าง ๑๐ ม. ยาว ๓๐ ม. บริเวณหน้าท่า ยาว ๓๐๐ ม. กว้าง ๑๐ ม. มีเรือประมงจอดเทียบหน้าท่าอยู่ตลอดแนว พื้นท้องทะเล ดินเหนียวปนทราย

ข้อแนะนำในการเข้าร่องน้ำคุระบุรี ท่าเทียบเรือประมง เรือ ตกฝ. ตกช. ควรนำเรือเข้าเทียบเฉพาะในช่วงที่ระดับน้ำขึ้นสูงเท่านั้น ร่องน้ำช่วงนำเรือเข้าระดับน้ำจะลึกแต่พอนำเรือไปจนถึงช่วงก่อนที่จะเข้าเทียบท่าเรือน้ำจะตื้นประมาณ 2-3 เมตร ในร่องน้ำไม่มีทุ่นไฟแสดงขอบเขตของร่องน้ำ ในช่วงที่มีคลื่นลมแรงให้ระมัดระวังเรือประมงที่เข้ามาทอดสมอหลบอยู่หลัง ก.รา ระวังกระแสน้ำในช่วงน้ำขึ้นน้ำลงที่มีกำลังค่อนข้างแรงซึ่งมีผลต่อการนำเรือเข้าเทียบ

ตกฝ.,ตกช., สามารถจอดเทียบได้ สามารถจอดเทียบได้ทั้งเวลาน้ำขึ้นและน้ำลง น้ำลึกบริเวณท่าเรือประมาณ 2.5 เมตร ไม่สะดวกในการจอดเทียบเป็นเวลานานเนื่องจากเป็นท่าเรือประมงจะมีเรือประมงเข้าและออกอยู่ตลอดเวลา จึงต้องทำการเลื่อนเรืออยู่เสมอ ใช้จอดเทียบเพื่อหลบคลื่นลมในเวลาที่คลื่นลมแรง เมื่อนำเรือถึงท่าเทียบท่าเรือประมงก่อนที่จะเข้าเทียบ ให้นำเรือขนานกับหลักนำห่างจากหลักนำอย่างน้อย 50 หลา

๔. การติดต่อสื่อสาร -ไม่มี ๕.สิ่งอำนวยความสะดวก - ระบบไฟฟ้า ไม่มี - ระบบประปา ไม่มี - น้ำมันเชื้อเพลิง ไม่มี