แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับ PHE และ การตอบโต้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

  KM for PHER.
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Health Promotion & Prevention
การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การประสานสั่งการ Command &Control
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
Health Promotion & Prevention
ความร่วมมือระหว่างประเทศ ACMECS และ MBDS
Health Promotion & Prevention
พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร.
กลุ่มที่ ๑ การเตรียมข้อมูล Academic Program และ Field Trip ของการประชุม 2nd Pan Asia Pacific Congress on Military Medicine วัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้กรอบและแนวคิดของ.
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระบบเครือข่ายข้อมูลความปลอดภัยด้านอาหารระหว่างประเทศ
โครงการอาหารปลอดภัย ปลอดโรคในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
องค์ความรู้ ของ กรมแพทย์ทหารเรือ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
การเตรียมความพร้อม เข้าสู่ประชาคมอาเซียน
แนวคิดการพัฒนางานระบาดวิทยาระดับเขต
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
“บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล ในการจัดการวิกฤตอุทกภัย”
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
แผนพัฒนาระบบควบคุมโรค การพัฒนากำลังคนด้านระบาดวิทยา
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์
ข้อมูลวิทยากรโดยสังเขป
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับ PHE และ การตอบโต้ kriangsak_v@yahoo.com

Public Health Emergency Response PHER

Public Health Emergency of International Concern: PHEIC Seriousness of the public health impact of the event. Unusual or Unexpected nature of the event. Potential for the event to spread. The risk that restrictions to travel or trade. http://www.who.int/csr/ihr/IHR_2005_en.pdf

Disaster “An occurrence that causes damage, ecological disruption, loss of human life, deterioration of health and health services on a scale sufficient to warrant an extraordinary response from out-side the effected community area.”

ภัยพิบัติ “หมายความว่า สาธารณภัยอันได้แก่ อัคคีภัย วาตะภัย อุทกภัย ภัยแล้ง ภาวะฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วง ฟ้าผ่า ภัยจากลูกเห็บ ภัยอันเกิดจาก โรคหรือภาวะการระบาดของแมลงหรือศัตรูพืชทุกชนิด อากาศหนาวจัดผิดปกติ ภัยสงคราม และภัยอันเนื่องมาจากการกระทำของผู้ก่อการร้าย กองกำลังจากนอกประเทศ หรือจากการปราบปรามของเจ้าหน้าที่ของทางราชการ ตลอดจนภัยอื่น ๆ ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ หรือมีบุคคลหรือสัตว์ทำให้เกิดขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือรัฐ” ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดลองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2546 ข้อ 5

การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัย แบ่งความรุนแรงเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ความรุนแรงระดับ 1 มีขนาดเล็ก ซึ่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสามารถควบคุมสถานการณ์ได้โดยลำพัง ความรุนแรงระดับ 2 มีขนาดกลาง ต้องอาศัยการสนับสนุนความช่วยเหลือจากหน่วยงานหลายส่วนราชการภายในเขตจังหวัดหรือจังหวัดใกล้เคียง และระดับเขต ซึ่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดไม่สามารถควบคุมสถานการณ์และจัดการระงับภัยได้ ความรุ่นแรงระดับ 3 มีขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบรุนแรง กว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่จำเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ ต้องระดมความช่วยเหลือจากทุกส่วนราชการ ภาคเอกชน และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในระดับประเทศ คู่มือการบริหารจัดการงานสาธารณภัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2549

ฉุกเฉิน “หมายความว่า เกิดขึ้นโดยปัจจุบันทันด่วน หรือเป็นที่คาดหมายว่า จะเกิดขึ้นในเวลาอันใกล้ และจำเป็นต้องรีบแก้ไขโดยฉับพลัน ” ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดลองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2546 ข้อ 5 วรรค 2,

ประเภทของ PHE Anthrax, Plague, Tularemia… Explosions, Burns, Injuries… Chlorine, Ricin, Sarin… Hurricane, Wildfire, Tornado… Dirty bombs, Nuclear blasts… Avian flu, SARS, Ebola…

Hurricane Nargis At least 146,000 fatalities http://www.nasa.gov/mission_pages/hurricanes/archives/2008/h2008_nargis.html At least 146,000 fatalities Thousands more people still missing Damage estimate 10 billion US$

Sichuan Earthquake May 12,2008: 14.28, Magnitude 7.9 69,197 fatalities 374,176 injured, 8,222 missing 4.8 million homeless http://en.wikipedia.org/wiki/2008_Sichuan_earthquake

Hurricane Ike http://nwanews.com/blogs/slophouse/files/2008/09/ike-track-1.jpg

น้ำทะเลลดลงหลายร้อยเมตรขณะเกิดสึนามิ Tsunami ธันวาคม 2547 น้ำทะเลลดลงหลายร้อยเมตรขณะเกิดสึนามิ น้ำขึ้นอย่างรวดเร็ว

ใต้ฝุ่นเกย์ พฤศจิกายน 2532 Typhoon Gay Southern, November 1989; killed >600

รถแก๊สคว่ำและเพลิงไหม้ เพชรบุรีตัดใหม่ กันยายน 2532 LPG Explosion, Bangkok, September 1989; Killed 81

SARS: 2546

AI: 2547+

ภัยแล้ง

ไฟไหม้ชุมชนสวนพลู วันที่ 23 เมย. 2547

มลภาวะ ละอองฝุ่น

ลูกเห็บ วันที่ 11 - 12 มกราคม 2545

แผ่นดินถล่ม

อุทกภัย อ.หาดใหญ่ ปี 2542

PHE ที่เคยเกิดขึ้นในไทย Super Typhoon Karen, Nov.-Dec. 1962; killed ~900 Flood Southern, November 1963; killed 374 Typhoon Gay Southern, November 1989; killed >600 LPG Explosion, Bangkok, September 1989; Killed 81 Doll Factory on fire, May 1993; killed 188 Hotel Collapse, Korat, August 1993; killed 132 SARS Dec. 03 – Jun. 2004; economic loss $ 4.5 bm. Tsunami, December 2004; killed >5,400 Avian Influenza 2004; Pandemic threat etc.

Natural Disasters in Thailand http://www.unisdr.org/eng/country-inform/thailand-disaster.htm

ความหมาย PHEM “ is a discipline that involves preparing for disaster before it happens, disaster response (e.g. emergency evacuation, quarantine, mass decontamination, etc.), as well as supporting, and rebuilding society after natural or human-made disasters have occurred.” “ is the continuous process by which all individuals, groups, and communities manage hazards in an effort to avoid or ameliorate the impact of disasters resulting from the hazards.” http://en.wikipedia.org/wiki/Disaster_management

ด้านการแพทย์และสาธารณสุข การให้ความช่วยเหลือ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข “หมายความว่า การให้ความชวยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติด้านร่างกาย และจิตใจ ซึ่งประกอบด้วยการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการสาธารณสุขที่จำเป็น เพื่อให้การดำรงชีวิตเขาสู่ภาวะปกติโดยเร็ว” ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดลองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2546 ข้อ 5 วรรค 6

การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ “ข้อ 16 เมื่อภัยพิบัติเกิดขึ้นในท้องที่ใด หากเป็นกรณีฉุกเฉิน ให้ดำเนินการประกาศให้ภัยพิบัตินั้นเป็นภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ กรณีเกิดในกรุงเทพมหานคร ให้เป็นอำนาจของอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรณีเกิดในจังหวัดอื่น ให้เป็นอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ฯลฯ ข้อ 17 เมื่อได้มีการประกาศตามข้อ 16 แล้ว ให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการที่กำหนดในหมวดนี้ ” ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดลองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2546

การจัดการในภาวะฉุกเฉิน การเตรียมพร้อมรับภัย การฟื้นฟูสภาพร่างกาย จิตใจ Disaster Management Cycle Disaster ภัยพิบัติ Impact Warning การเตือนภัย Pre-impact Post-impact Emergency Response การจัดการในภาวะฉุกเฉิน Disaster Preparedness การเตรียมพร้อมรับภัย Rehabilitation การฟื้นฟูสภาพร่างกาย จิตใจ Disaster Mitigation การลดผลกระทบจากภัย Reconstruction การฟื้นฟูสิ่งก่อสร้าง Disaster Prevention การป้องกันภัย Source: Somchai K. Narenthorn Center

PHE. Management Cycle Response Recovery Mitigation Preparedness Impact Pre-impact Post-impact

Mitigation Phase   Mitigation/ Prevention Preparedness Phase Pre-impact Mitigation/ Prevention  Preparedness Phase  Impact Information & Intelligence Hazards/Risks assessment & reduction

Mitigation Phase การจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อกำจัดหรือลดโอกาสการเกิด หรือลดผลกระทบของการเกิดภัยพิบัติ หรือเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข เช่น จัดให้มีระบบเฝ้าระวังหรือข่าวกรองที่ดี เพื่อให้สามารถเตือนภัยล่วงหน้าได้ มีการประเมินและค้นหาความเสี่ยง/ภัยคุกคามสุขภาพต่อเนื่อง แล้วหาทางลดปัจจัยเหล่านั้นลง

Preparedness Phase   Mitigation/ Prevention Preparedness Phase Pre-impact Mitigation/ Prevention  Preparedness Phase  Impact Roles of SRRT in PHER Incidence Command System PHE Preparedness & Exercise Logistics & Networking

Preparedness Phase เป็นระยะที่ต้องเตรียมความพร้อมทุกด้านก่อนที่จะเกิดภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เช่น การพัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข การเตรียมแผนโต้ตอบภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข มีการซ้อมแผน และมีการเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ไว้ให้พร้อม เป็นต้น

Response Phase Search/ Rescue VR, OTOR, Community, EMS   Initial/Acute Phase 0-2 hrs Immediate hours 2-6 hrs Intermediate hours 6-12 hrs Late Intermediate hours 12-24 hrs Extended hours Impact Response/Relief Phase  Recovery Phase  Post-impact 1 day 2 – 14 day 15+ Search/ Rescue VR, OTOR, Community, EMS Rapid Health assessment Risks communication

Response Phase   Professional SRRTs, PHERT Initial/Acute Phase 0-2 hrs Immediate hours 2-6 hrs Intermediate hours 6-12 hrs Late Intermediate hours 12-24 hrs Extended hours Impact Response/Relief Phase  Recovery Phase  Post-impact 1 day 2 – 14 day 15+ Surveillance for PHE & Data Analysis Epidemiological Investigation Outbreak & Hazard Control Professional SRRTs, PHERT

Response Phase เมื่อเกิดภัยพิบัติที่ถือเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข จะเข้าพื้นที่ประสบภัยทันที เพื่อดำเนินการทุกวิถีทางที่จะให้การช่วยเหลือและบรรเทาความเสียหายต่อสุขภาพของคนในในพื้นที่ประสบภัย รวมทั้งดำเนินการป้องกันควบคุมโรคระบาดหรือผลแทรกซ้อนอื่นที่อาจเกิดตามหลังการเกิดภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขด้วย

Recovery Phase   Initial/Acute Phase Response/Relief Phase 0-2 hrs Immediate hours 2-6 hrs Intermediate hours 6-12 hrs Late Intermediate hours 12-24 hrs Extended hours Impact Response/Relief Phase  Recovery Phase  Post-impact 1 day 2 – 14 day 15+ Recovery Transfer Responsibilities

Recovery Phase เป็นระยะที่ความเสียหายอันเกิดจากภาวะฉุกเฉินได้รับ การแก้ไขบรรเทาแล้ว ที่พักพิงชั่วคราวสามารถปิดตัวได้ ระบบบริการต่าง ๆ ของพื้นที่เริ่มเปิดให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ได้แล้ว ประชาชนเริ่มกลับเข้าสู่วิถีชีวิตปกติ ทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่เข้ามาช่วยเหลือพื้นที่ประสบภัย สามารถทยอยถ่ายโอนภารกิจให้หน่วยงานในพื้นที่ และถอนตัวออกจากพื้นที่ได้

บทบาท S : Surveillance R : Rapid R : Response T : Team

บทบาทด้านระบาดวิทยา Epidemiological Surveillance Public Health Action Outbreak Epidemiological Surveillance Public Health Action Ongoing & Systematic of - Health data collection, - Analysis, - Interpretation and - Dissemination. Outbreak Investigation Prevention Contain/ Control Reporting

บทบาท P : Public H : Health E : Emergency R : Response T : Team

บทบาทด้านภาวะฉุกเฉินฯ Pre-impact Post-impact 0-2 hrs Immediate hours 2-6 hrs Intermediate hours 6-12 hrs Late Intermediate hours 12-24 hrs Extended hours Impact Preparation Phase Initial/Acute Phase Response/Relief Phase Recovery Phase 1 2 – 14 15+ Mitigation Risks reduction Prevention Preparedness Search Rescue Response Relief Recovery Rehabilitation Surveillance System for PHE Outbreak Investigation & Control Prevention of Health hazards following PHE. Restore system Transfer - responsibility Intelligence

SRRT vs. PHERT SRRT Outbreak Impact PHERT Epidemiological Surveillance Data collection Analysis Interpretation Dissemination Community Diagnosis Prioritize problems & Planning Health Hazards/Risks Reduction ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา Public Health Action Outbreak Investigation Disease contain & Control Epidemiological Study Prevention of future outbreak Reporting SRRT Outbreak Pre-impact Post-impact PHER Surveillance for PHE Investigation and control Health hazards/risks reduction Prevention of future outbreak Rehabilitation Restore system Transfer tasks PHE preparedness Training for PHER Team Planning, Exercise & ICS Logistics management Intelligence System Networking Health hazard assessment Warning System Mitigation & Prevention Impact PHERT Rapid assessment Risks communication

ชนิดของน้ำท่วม Riverine floods Estuarine floods Coastal floods Catastrophic floods http://enh.wikipedia.org/wiki/flood

Risks Assessment

เขื่อนศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Risks Assessment

ความเสี่ยงจากน้ำท่วม

ผลกระทบจากน้ำท่วม Primary effects Secondary effects Physical Damage Casualties Secondary effects Water supplies Diseases Crops & food supplies Tertiary – long term effects Economic Psychological

PHE. Management Cycle Response Recovery Mitigation Preparedness Impact Pre-impact Post-impact

Flood Prevention ผังเมือง ลดภาวะ โลกร้อน แนว/เขื่อนกั้นน้ำ

Preparedness Logistics Handbook Drill Exercise Communication Planning awareness

Early Warning System

Evacuation

Incident Command System สธ. การจัดการใน ภาวะฉุกเฉิน มท. กระทรวง กรม กรม ผวจ. เขต เขต สสจ. จังหวัด รพ. อำเภอ กู้ชีพ - รักษา เฝ้าระวังภัยสุขภาพ ป้องกัน - ฟื้นฟู นอภ. ความปลอดภัย ที่อยู่อาศัย อาหาร-เครื่องนุ่งห่ม สสอ. อำเภอ อบต. สอ. OTOR Impact

PHEM ประเทศไทย ระดับชาติ ระดับกระทรวง ระดับกรม ระดับพื้นที่ นโยบายการเตรียมพร้อมแห่งชาติ (มติ ครม.20 ธค. 2548) คณะกรรมการเตรียมพร้อมแห่งชาติ ศูนย์ประสานงานเตรียมพร้อมแห่งชาติ คณะอนุกรรมการเตรียมพร้อม ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข (ศูนย์ปฏิบัติการเตรียมพร้อมฯ) ศูนย์ปฏิบัติการเตรียมพร้อมฯ ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข กรม............................. ศูนย์ปฏิบัติการส่วนหน้า ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขจังหวัด ทีมเคลื่อนที่ ระดับชาติ ระดับกระทรวง ระดับกรม ระดับพื้นที่

ศูนย์ PHER สธ.ระดับจังหวัด ผู้บัญชาการเหตุการณ์ หน. ความปลอดภัย หน. ประชาสัมพันธ์ หน. ประสานงาน หน. สนับสนุน หน. วางแผน หน. เฝ้าระวังฯ หน.การแพทย์ฯ สื่อสาร/ขนส่ง จัดซื้อ/พัสดุ อาหาร/เครื่องดื่ม การเงิน/การคลัง ประเมินผล กำลังคน เฝ้าระวัง/ควบคุมโรค สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จัดการศพ อสม./ประชาชน รักษาพยาบาล สุขภาพจิต เภสัชกรรม ปฏิบัติการชันสูตร สนับสนุนวิชาการ

ศูนย์ PHER ระดับจังหวัด รองนายก ปลัด กระทรวง PHER ชาติ ผู้ว่าราชการจังหวัด อำนวยการ ประสาร/ช่วยเหลือ ปชส./สื่อสาร รับบริจาค /บัญชี รักษาความ ปลอดภัย ผู้บัญชาการเหตุการณ์ หน. ความปลอดภัย หน. ประชาสัมพันธ์ หน. ประสานงาน หน. สนับสนุน หน. วางแผนฯ หน. เฝ้าระวังฯ หน.การแพทย์ฯ สื่อสาร/ขนส่ง จัดซื้อ/พัสดุ อาหาร/เครื่องดื่ม การเงิน/การคลัง ประเมินผล กำลังคน เฝ้าระวัง/ควบคุมโรค สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จัดการศพ อสม./ประชาชน รักษาพยาบาล สุขภาพจิต เภสัชกรรม ปฏิบัติการชันสูตร สนับสนุนวิชาการ กรมที่เกี่ยวข้อง

Response PHE Operating Center Shelters Risks Assessment

Response Risk reduction Monitoring Surveillance Center Investigation Reporting Control

Recovery

สรุป ศูนย์อำนวยการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - ในทุกระดับ ศูนย์อำนวยการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - ในทุกระดับ ระบบสั่งการในภาวะฉุกเฉิน : ICS แผนเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน - การซ้อมแผน ทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - เครือข่าย SRRT ระบบสนับสนุน - การบริหารจัดการระบบพัสดุในภาวะฉุกเฉิน - ระบบสื่อสารและประชาสัมพันธ์ในภาวะฉุกเฉิน ฯลฯ

Comment & Suggestion ? Thank you kriangsak_v@yahoo.com