งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค
PHEM เป็นประเด็นด้านความมั่นคงด้านสุขภาพ ทุกหน่วยงานในกรมควบคุมโรคต้องเข้ามาร่วมกันทำงาน

2 EOC ในปัจจุบัน ไม่มีการพัฒนาคนที่สามารถทำงานได้ตามระบบ EOC
ไม่มี surge capacity ไม่สามารถเพิ่มกำลังคนเข้ามาในระบบ EOC ได้ ไม่มีแผนระดมคน ไม่มีการเตรียมคน ถึงส่งคนมาก็ทำงานไม่ได้ คนทำงานแยกส่วน ไม่มีงาน EOC มีแต่งานของสำนักฯ

3 EOC ในปัจจุบัน ในภาวะปกติ งาน PHEM ทำแค่งาน preparedness
ไม่มีความครอบคลุมในทุกภัย ไม่มีงานด้านการปฏิบัติการในภาวะปกติ ขาดระบบการงานที่ชัดเจน – คิดงานเพียงแค่สำหรับตัวเอง ขาดความเชื่อมโยงกับงานภาคสนาม ไม่มีความเชื่อมโยงของงาน ไม่มีภาพของการทำงานเป็นทีม ทำงานใครงานมัน ต่างคนต่างทำ เงินสำนักไหนก็ใช้ได้เฉพาะกับ งานของสำนักนั้น

4 EOC ในปัจจุบัน บริหารจัดการ/ทำงานแบบภาวะปกติ Respond เป็นแค่โรคติดต่อ
มีแต่คนเข้ามานั่งจด (รับคำสั่ง) แต่ไม่มี input เป็นห้องประชุมหรือห้อง EOC EOC คือการประชุม และ/หรือ Tele-conference Infrastructure ไม่เพียงพอกับการทำงาน ไม่มีระบบข้อมูลที่รวดเร็ว

5

6

7

8 Ebola – IMS ของ Nigeria

9 หลักการในการพัฒนา EOC

10 Emergency situation ปริมาณงานเกินกำลังทรัพยากรในภาวะปกติที่จะรับมือได้
จึงประกาศภาวะฉุกเฉินเพื่อ ให้มีการ re-allocate ทรัพยากร และ/หรือ re-arrange องค์กรเพื่อรับมือเหตุการณ์ ต้องมีคนเข้ามาสนับสนุนการทำงานเพิ่มเติม ทีมปฏิบัติการ ทีมข้อมูล ทีมประสานงาน ทีมวิชาการ

11 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทุกสำนัก/กอง/ศูนย์/สำนักงาน สำนักที่ต้องเกี่ยวข้องโดยตรง: สำนักระบาดวิทยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

12 แนวคิดหลักในการพัฒนา EOC
EOC ทำหน้าที่ co-ordinate งาน ไม่ดึงงานที่มีอยู่แล้วจากสำนักต่างๆ มาไว้ที่เดียวกัน ไม่สร้างงานที่ซ้ำซ้อนกับที่สำนักอื่นๆ ทำอยู่แล้วขึ้นมาใหม่ งาน Stockpiling & Logistics ให้อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักวิชาการแต่ละสำนักฯ ให้ทุกสำนักวิชาการที่มีโอกาสเกิด PHE จัดให้มีผู้รับผิดชอบงานด้าน PHEM

13 แนวคิดในการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเพื่อรับมือ All-Hazards

14 PHEM vs PHER Event

15 EOC EOC = ห้องทำงานของ Incidence commander EOC รวมถึง ระบบงาน
ห้อง และอุปกรณ์ Trained staffs

16 CDC Response

17 PHEM, PHER & EOC PHEM = 2 P 2 R Prevention Preparedness EOC Recovery
Response ห้อง + อุปกรณ์ คน System PHER

18 ข้อเสนอแผนพัฒนางาน EOC (มองช้างทั้งตัว)

19 EOC EOC กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอื่นๆ Event Event Event Field Team

20 เป้าหมายการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค (2)

21 Proposed DDC ICS (1) Incidence Manager Operations SA ยุทธศาสตร์
สื่อสารความเสี่ยง Case Management PoE Stockpiling กฎหมาย การเงินและงบประมาณ กำลังคน เลขานุการ/ประสานงาน

22 Normal Function: Preparedness - SA - Operation - ประสานงาน
EOC Response EOC activation EOC deactivation CIO resources are exceeded Operations Situation Awareness ยุทธศาสตร์ Risk Communication Case Management Point of Entry Stockpiling & Logistics กฎหมาย Finance/Admin กำลังคน เลขานุการ/ประสานงาน Remediation Laboratory specimens SITREP Demobilization Increase surveillance CIO responds Request for assistance Lesson Learned Plan and procedures Exercise coordination Corrective actions Training education Relationship building Prevent & Prepare Respond Recover Normal Function: Preparedness - SA - Operation - ประสานงาน

23 กลไกการประสานงานหลัก
(1) ผู้รับผิดชอบงาน Public Health Emergency Management ของทุกสำนัก/กอง/ศูนย์/สคร.

24 (2) สถานที่ EOC ใช้ห้อง PHERC เดิม + KM + ศูนย์ IT บางส่วน + ห้อง PHER (อาคาร 3 ชั้น 5) + ห้องประชุมชมฯ แผนการปรับปรุงห้อง Main room จุคนประมาณ คน SAT room 2 ห้อง (8 คน – 1 ห้อง, 4 คน – 1 ห้อง) Briefing Room ความจุ คน 1 ห้อง ความจุ 10 คน 1 ห้อง

25 (3) Main Room 20 workstations with computer + 5 Servers Video wall + LED 50” – 8 จอ High speed internet connection สาย Fiber optic เฉพาะ Link จาก สป. โดยตรง Video Teleconference capability Web conference Voice teleconference capability

26 BCP (4) เพื่อการ Activate EOC 4 ระดับ
ระดับที่1 ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเป็นผู้ดูแลเหตุการณ์ ระดับที่ 2 ทุกหน่วยงานส่วนกลาง ส่งเจ้าหน้าที่มาร่วมปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน หน่วยงานละ 10% ของกำลังเจ้าหน้าที่ที่มีอยู่ ระดับที่ 3 ทุกหน่วยงานส่วนกลาง ส่งเจ้าหน้าที่มาร่วมปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน หน่วยงานละ 25% ของกำลังเจ้าหน้าที่ที่มีอยู่ ระดับที่ 4 ทุกหน่วยงานในกรมควบคุมโรค หยุดงานที่เป็น non-essential ทั้งหมด และส่งเจ้าหน้าที่ มาร่วมปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (ประมาณ50% ของกำลังเจ้าหน้าที่ที่มีอยู่)

27 การจัดกำลังคนทำงาน EOC (5)
Incidence Commander JIT Operation Trained SAT SAT กฏหมาย สำนักผู้ทรงฯ ยุทธศาสตร์ การเงิน สำนักสื่อสารฯ Risk Communication กำลังคน ส.บำราศ Case Management สำนักโรคติดต่อทั่วไป PoE สำนักฯ ที่รับผิดชอบ Stockpiling สำนักฯ สนับสนุน ประสานงาน

28 Training issues (6) หลักสูตร 3 ระดับ (7-8) พื้นฐาน – สำนัก?
ปฏิบัติการ: ภาคสนาม + ในห้อง EOC SAT JIT Risk Communication เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานใน EOC ตามโครงสร้าง ICS ระดับ incidence commander

29 Framework การทำงาน EOC system (7)

30 Proposed DDC ICS Incidence Manager Operations SA ยุทธศาสตร์
สื่อสารความเสี่ยง Case Management PoE Stockpiling กฎหมาย การเงินและงบประมาณ กำลังคน เลขานุการ/ประสานงาน

31 การจัดแบ่งบทบาทหน้าที่ของกลุ่มต่างๆ
กำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละกล่อง (8) จัดทำ SOP และ Operation manual ของกล่องต่างๆ สำหรับภัยชนิดต่างๆ (9) กำหนดกลไกการประสานงาน และการทำงานร่วมกัน (10)

32 ผู้บัญชาการเหตุการณ์
กำหนดวัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุการณ์ รับทราบและติดตามสถานการณ์ของเหตุการณ์ จัดลำดับความสำคัญของกิจกรรม รับทราบและติดตามการดำเนินงานในส่วนต่างๆ ของ ICS ตรวจสอบเป็นระยะๆ ว่าทรัพยากรต่างๆ ของ ICS มีเพียงพอสำหรับการ รับมือกับเหตุการณ์ ตัดสินใจสั่งการหน่วยย่อยในระบบ ICS แจ้งให้ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องทราบถึงสถานการณ์และผลการดำเนินงาน เป็นระยะๆ

33 Situation Awareness ในภาวะปกติ
ติดตามเฝ้าระวัง ประเมินสถานการณ์ และประเมินความเสี่ยง ของเหตุการณ์สำคัญๆ ต่างๆ ด้านสาธารณสุข จัดทำสรุปรายงานเหตุการณ์สำคัญ และ DCIR ตามเวลาที่ กำหนด พิจารณาวิธีการจัดการกับเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามความ เหมาะสมกับขนาดและความรุนแรงของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จัดทำข้อเสนอเพื่อเปิดศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทาง สาธารณสุข ให้ผู้บริหารพิจารณาตัดสินใจ

34 Situation Awareness ในภาวะปกติ
SAT manager: นักวิชาการสำนักระบาดวิทยา Situation awareness – core team แพทย์สำนักระบาดวิทยา: ธนรักษ์ พจมาน ดารินทร์ ทีมที่ปรึกษา: ผู้ทรงคุณฯ

35 Situation Awareness SAT Decision Event-based surveillance
Indicator-based surveillance ข่าวสารจากแหล่งอื่นๆ SAT Decision Report ทันที Normal response EOC Routine

36 Situation Awareness (4)
SAT เสนอเปิด EOC SAT ติดตามสถานการณ์ ไม่เห็นด้วย ผอ. สำนักระบาดวิทยา เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย คณะผู้ทรงคุณวุฒิฯ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย อธิบดี อนุมัติ เปิด EOC

37 Situation Awareness (4) ทีมปฏิบัติการลงพื้นที่
SAT ตัดสินใจส่ง JIT SAT ติดตามสถานการณ์ ไม่เห็นด้วย ผอ. สำนักระบาดวิทยา เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย รองอธิบดี ทีมปฏิบัติการลงพื้นที่

38 Output ที่ควรมี รายงานสถานการณ์ด่วนตาม DCIR – รายงานภายใน 120 นาทีหลังได้รับข่าว - เพื่อส่งต่อให้กับผู้บริหาร รายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์เฉพาะ (Rapid Risk Assessment) ภายใน ชั่วโมงหลังรับทราบข่าว รายงานสรุป (รวม) เหตุการณ์ที่สำคัญในสัปดาห์ที่ผ่าน มา และการตัดสินใจ รายงานสถานการณ์เฉพาะ รายวัน/รายสัปดาห์ ตามสถานการณ์

39 การทำงานของ EOC: ภาวะปกติ
Field Team สำนักระบาดวิทยา ข้อมูล ข่าว SAT งาน PHEM ของสำนักวิชาการ ทีมสื่อสารความเสี่ยง สำนักวิชาการอื่นๆ ข่าวสารเตือนภัย Actions

40 Situation Awareness ในภาวะฉุกเฉิน
จัดทำฐานข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ประเมินสถานการณ์ และ ประเมินความเสี่ยงในส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ฉุกเฉิน ทั้งหมด ทำงานประสานเชื่อมโยงข้อมูลกับทีมปฏิบัติงานภาคสนาม เสนอความเห็นทางยุทธศาสตร์เพื่อการควบคุมปัญหาร่วมกับทีม ยุทธศาสตร์ จัดทำสรุปรายงานสถานการณ์เป็นระยะๆ ตามที่ผู้บัญชาการ เหตุการณ์กำหนด

41 หน้าที่ Supervisor ดูแลการทำงานของทีม - แบ่งหน้าที่การทำงาน
สอนงานให้กับเจ้าหน้าที่ในทีม ติดตามสถานการณ์ของเหตุการณ์ รายงานสถานการณ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ตัดสินใจ ไม่จำเป็นต้องอยู่ในห้อง SAT ตลอดเวลา

42 การทำงานของ EOC Field Team Operations Team in EOC Liaison กรมฯ
SAT EOC กรม EOC กระทรวง สำนักวิชาการอื่นๆ กรมต่างๆ ข้อมูล ข่าว Actions Actions

43 Operation ส่วนกลาง จัดระบบการปฏิบัติการภาคสนามในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
ให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานของทีมงานภาคสนามในทุกด้าน ทั้งทางด้านการเดินทาง ด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ ด้านการจัดส่ง specimens สนับสนุนองค์ความรู้ มาตรฐาน แนวทางในการป้องกันควบคุมโรค เครื่องมือในการทำงาน ติดตามผลการปฏิบัติงานของทีมงานภาคสนาม ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงาน

44 Operation ทีมภาคสนาม ประเมินขนาด/ความรุนแรง/การกระจาย (ทำแผนที่การเกิดโรค) ของปัญหา (Rapid assessment) หาสาเหตุ/ปัจจัยที่อาจส่งผลถึงการแพร่กระจายของปัญหา และแนวทางการควบคุมปัญหา จัดการควบคุมสถานการณ์ฉุกเฉินในพื้นที่ จัดระบบ และทำการเชื่อมโยงข้อมูลกับศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน สื่อสารและรายงานสถานการณ์ให้ศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้เป็นระยะ ประเมิน & รายงานผลการปฏิบัติงานให้ EOC ทราบ

45 แผนพัฒนาทีมสอบสวนควบคุมโรค
Joint investigation team – เป้าหมายอย่างน้อย 20 ทีม สำนักวิชาการทุกสำนักฯ กำหนดผู้ประสานงานหลัก 1 คน และจัดทำรายชื่อเวรสอบสวนควบคุมโรค เมื่อจำเป็นต้องออกสอบสวนโรค สำนักระบาดวิทยาจะแจ้งไปยังผู้ประสานงานหลักเพื่อออกสอบสวนโรคร่วมกัน สำนักฯ ออกสอบสวนโรคตามที่เกี่ยวข้อง สำนักระบาดวิทยาจัดอบรมการสอบสวนควบคุมโรคให้เจ้าหน้าที่ของสำนักวิชาการฯ เป็นระยะๆ

46 แผนพัฒนาทีมสอบสวนควบคุมโรค
ออกสอบสวนโรคเมื่อหัวหน้าทีม SA ตัดสินใจส่งทีม Output ของ JIT ติดต่อรายงานสถานการณ์ให้ SAT ทราบอย่างต่อเนื่อง ติดต่อพูดคุยกับทีม SA เป็นระยะๆ ส่งข้อมูลที่สำคัญให้กับทีม SA โดยเร็ว

47 แผนพัฒนาทีมสอบสวนควบคุมโรค
องค์ประกอบของทีม 6-8 คน: หัวหน้าทีม - แพทย์ 1 คน FETP และนักวิชาการ ส.ระบาดวิทยา 1-2 คน ส.วิชาการที่เกี่ยวข้อง 1-2 คน ส.วิชาการที่ไม่เกี่ยวข้อง 1 คน นักสื่อสารความเสี่ยง 1 คน สคร. 1-2 คน ผู้ประสานงาน 1 คน

48 ภาพรวมคนทำงานปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉิน
ทีมดูแลสถานการณ์ฉุกเฉิน ทีม SAT ติดตามสถานการณ์ฉุกเฉิน 2 ทีม ทีมสอบสวนภาวะฉุกเฉิน 7 ทีม ทีมดูแลสถานการณ์อื่นๆ (5-10 ทีม) ทีม SAT ในภาวะปกติ สอบสวนโรคทั่วไป

49 ยุทธศาสตร์ ให้คำแนะนำด้านวิชาการ ยุทธศาสตร์ (รวมทั้งมาตรการและเป้าหมาย) และกฎหมายแก่ผู้บัญชาการเหตุการณ์ เจ้าหน้าที่ใน ICS และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ประเมินผลการดำเนินงานตามมาตรการ/แผน เพื่อให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ปรับปรุงมาตรการ ให้คำแนะนำและช่วยตรวจสอบข่าวสารต่างๆ ที่จะออกสู่สื่อสาธารณะ เป็นทูตทางวิชาการให้กับกรมควบคุมโรค

50 Risk Communication องค์ประกอบของทีม ผู้ทรงคุณวุฒิฯ โฆษกกรมฯ
นักวิชาการจากสำนักที่เกี่ยวข้อง 1-2 คน นักวิชาการจากสำนักสื่อสารความเสี่ยง

51 Risk Communication บทบาทหน้าที่ ติดตามสถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหา
วิเคราะห์ความรับรู้ข่าวสารต่างๆ ของประชาชน กำหนดยุทธศาสตร์การสื่อสารความเสี่ยง จัดทำข่าวสารสำหรับประชากรกลุ่มเป้าหมายต่างๆ เผยแพร่ผ่านช่องทางต่างๆ อย่างเหมาะสม จัดหาวิทยากร

52 Risk Communication Output ที่สำคัญ Talking point สำหรับผู้บริหาร
ข่าวแจกสำหรับสื่อมวลชน ข่าวสารที่จำเป็นเพื่อเผยแพร่ตามช่องทางต่างๆ Info-graphic และสื่ออื่นๆ ที่เหมาะสมกับประชากร กลุ่มเป้าหมาย วิทยากรสำหรับหน่วยงาน/สื่อ

53 Liaison ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และนอกกรมควบคุมโรค จัดทำทำเนียบเครือข่ายเพื่อการประสานงานทั้งภายในและภายนอกกรมควบคุมโรค สรุปรายงานการประชุม/ข้อสั่งการ รวมทั้งสื่อสารข้อสั่งการไปยังหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรวดเร็ว วางแผนและจัดทำแนวทางการผลักดันให้ข้อสั่งการของผู้บัญชาการเหตุการณ์ได้รับการปฏิบัติอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

54 Liaison ให้การสนับสนุนงานด้านการบริหารจัดการในทุกๆ ด้าน ในกับทีมย่อยทุกทีมใน ICS จัดหาสถานที่สำหรับการทำงานของทีมย่อยต่างๆ ใน ICS ให้เพียงพอ ประสานจัดการประชุม จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานของ ICS และทีมย่อยของ IMS รับผิดชอบงานสารบรรณของ ICS

55 สรุป สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป

56 สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป
(1) กำหนดผู้รับผิดชอบงาน Public Health Emergency Management ของทุกสำนัก/กอง/ศูนย์/ สคร. (2) จัดทำแผนปรับปรุงสถานที่ (3) จัดทำแผนจัดการอุปกรณ์ที่ยังขาดอยู่

57 สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป
(4) ทุกสำนักฯ ที่เกี่ยวข้องจัดทำแผน BCP เพื่อระดม คน 3 ระดับ (5) จัดทำแผนการจัดสรรคนทำงานใน EOC (6) จัดทำแผนการพัฒนาคน และดำเนินการพัฒนาคน

58 สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป
(7) จัดทำ Framework การทำงาน (8) กำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละกล่อง - concepts (9) จัดทำ SOP และ Operation manual ของกล่อง ต่างๆ สำหรับภัยชนิดต่างๆ (10) กำหนดกลไกการประสานงาน และการทำงาน ร่วมกัน ภายในเดือนกันยายน 2558

59 การทำงานร่วมกัน การประสานข้อมูลระหว่างทีม SAT ของแต่ละ สคร. กับ ส่วนกลาง SAT ส่วนกลางต้องได้รับรู้ทุก investigation ที่เขต ดำเนินการ – เร็วที่สุด SAT ส่วนกลางต้องคอย track สถานการณ์ Emergency ของเขตด้วย การพัฒนาคน การพัฒนาระบบงาน การพัฒนา infrastructure และระบบข้อมูล

60


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google