โครงการการวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลการตรวจวินิจฉัยเชื้อมาลาเรียโดยชุดน้ำยาสำเร็จรูปกับวิธีตรวจฟิล์มหนาในพื้นที่จังหวัดตาก น้องเลี้ยง นางสาวเสาวนีย์ ดีมูล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
Management Information Systems
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ ของกรมแพทย์ทหารบก
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
การเขียนรายงานการวิจัย
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ไข้เลือดออก.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน 65%
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
ชนิดของมะเร็งของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน.
การวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงต่อโรคเลปโตสไปโรซีส
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้ป่วยมาลาเรียคนไทยและต่างชาติ
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการการวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลการตรวจวินิจฉัยเชื้อมาลาเรียโดยชุดน้ำยาสำเร็จรูปกับวิธีตรวจฟิล์มหนาในพื้นที่จังหวัดตาก น้องเลี้ยง นางสาวเสาวนีย์ ดีมูล หน่วยงาน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก

ความเป็นมา มาลาเรีย เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขที่คุคามสุขภาพของประชาชน ซึ่งพบมาก ในจังหวัดตามแนวชายแดน และจังหวัดที่ยังมีป่าทึบ สถานการณ์ ข้อมูลการเฝ้าระวังประจำปี 2553 พบผู้ป่วย จำนวน 22,484 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 35.39 ต่อแสนประชากร เสียชีวิต 32 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.05 ต่อแสนประชากร จังหวัดที่มีอัตราป่วยต่อแสนประชากร มากที่สุด 5 อันดับแรกคือ จังหวัดตาก (1409.76 ต่อแสนประชากร) จังหวัดระนอง (889.11 ต่อแสนประชากร) จังหวัดแม่ฮ่องสอน (455.66 ต่อแสนประชากร) จังหวัดชุมพร (453.11 ต่อแสนประชากร) รายงานในระบบเฝ้าระวัง 506 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

การดำเนินงาน การเจาะโลหิตค้นหาผู้ป่วยที่เป็นคนไทย จังหวัดตากมีการเจาะโลหิตมากที่สุด คือ 237,356 ราย คิดเป็นร้อยละ 66.49 ตรวจพบเชื้อทั้งสิ้น 6,944 ราย จังหวัดตาก ตรวจพบเชื้อมากที่สุดที่คือ 6,845 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.57 กิจกรรมที่พบผู้ป่วยมาลาเรียมากที่สุด คือ มาลาเรียคลินิก ร้อยละ 44.83 โรงพยาบาล ร้อยละ 35.57 ชนิดเชื้อมาลาเรีย ชนิด Plasmodium vivax (Pv) ร้อยละ 67.97 ชนิด Plasmodium falciparum (Pf) ร้อยละ 31.00 พบเชื้อมากกว่า 1 ชนิด (Mixed infection) ร้อยละ 1.00 ชนิด Plasmodium malariae (Pm) ร้อยละ 0.01 ที่มา : จากรายงาน สรว.3 ของศตม.9.1-9.3

มาตรการหลัก 3 มาตรการ มาตรการต่อยุง > ควบคุมทั้งยุงพาหะตัวเต็มวัยและลูกน้ำยุงพาหะ การควบคุมโดยใช้สารเคมี การควบคุมทางชีววิธี การควบคุมทางสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการป้องกันยุงกัดโดยใช้มุ้งชุบสารเคมีและยาทากันยุง มาตรการต่อคน ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในป้องกันควบคุมโรค เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน มาตรการต่อเชื้อ การตรวจวินิจฉัยผู้ป่วยที่สงสัยว่าจะป่วยด้วยโรคมาลาเรียให้ได้โดยเร็ว ให้การรักษาในทันที

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาต้นทุนประสิทธิผลการตรวจวินิจฉัยเชื้อมาลาเรียโดยชุดน้ำยาสำเร็จรูปกับวิธีตรวจฟิล์มหนาในพื้นที่ชายแดน จังหวัดตาก

วิธีการศึกษา (1) รูปแบบการศึกษา เป็นการวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผล (Cost-Effectiveness Analysis) โดยใช้ Decision Tree Model เพื่อแสดงทางเลือกของมาตรการที่ต้องการศึกษาเปรียบเทียบกับมาตรการที่เป็นมาตรฐาน ประชากรกลุ่มเป้าหมาย และจำนวน ประชากรจังหวัดตาก ใน 5 อำเภอชายแดน จำนวน 245,238 ราย

วิธีการศึกษา (1) พื้นที่ศึกษา หรือดำเนินโครงการ พื้นที่ 5 อำเภอจังหวัดตาก อำเภออุ้มผาง อำเภอพบพระ อำเภอแม่สอด อำเภอท่าสองยาง อำเภอแม่ละมาด

วิธีการศึกษา (2) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 9.3 อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก

• แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล • แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลตามพารามิเตอร์ต่างๆตาม Decision tree model โดยใช้วิธีทบทวนจากเอกสารรายงานการวิจัยที่เสร็จเรียบร้อย บทความ บทคัดย่อ รายงานฉบับสมบูรณ์ จากการสืบค้นทางอินเตอร์เนต วารสารมาลาเรีย และคู่มือต่างๆ ของสำนักโรคไม่ติดต่อนำโดยแมลง การเก็บรวบรวมค่าต้นทุน โดยคิดค่าใช้จ่ายกิจกรรมที่สัมพันธ์กับวิธีการตรวจวินิจฉัยมาลาเรีย วิเคราะห์ Cost effective ratio เปรียบเทียบมาตรการทั้ง 2 มาตรการ โดยวิเคราะห์อัตราต้นทุนรวมของผู้ให้บริการและผู้รับบริการต่อประสิทธิผล (accuracy and true positive rate) โดยใช้โปรแกรม Tree Age เวอร์ชั่น 3.5

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การนำผลไปใช้ประโยชน์ สามารถนำผลการศึกษาที่ได้ไปนำเสนอต่อผู้บริหารเพื่อประกอบการตัดสินใจในการดำเนินมาตรการป้องกันควบคุมโรคมาลาเรีย

ระยะเวลาที่ศึกษา ระยะเวลาในการศึกษา จำนวน 11 เดือน ดังนี้ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1.พัฒนาโครงร่างวิจัย 2.สืบค้นข้อมูล 3.ออกแบบเครื่องมือ 4.เก็บข้อมูล 5.วิเคราะห์ข้อมูล 6.สรุปผล 7.เขียนรายงานการวิจัย

งบประมาณและแหล่งทุน งบประมาณสนับสนุนจากกรมควบคุมโรค จำนวน 114,800 บาท โดยเป็นค่าใช้จ่าย ดังนี้ ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 8 คน x 210 บาท x 10 วัน = 16,800 บาท ค่าที่พัก จำนวน 8 คน x 600 บาท x 10 วัน = 48,000 บาท ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง = 40,000 บาท ค่าจ้างเหมาบริการ = 10,000 บาท

ทีมงาน น้องเลี้ยงพี่เลี้ยงที่ปรึกษา 1.นางสาวเสาวนีย์ ดีมูล 2.นางอุษารัตน์ ติดเทียน 3.นายณพพงษ์ บำรุงพงษ์ 4.นายนิธิพัฒน์ มีโภคสม 5. นายตามพงษ์ พงษ์นรินทร์ 6.นายชวลิต แก้วกก ที่ปรึกษา 1.นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ 2.ดร.พงษ์วิทย์ บัวล้อมใบ สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง 3.นายเผด็จศักดิ์ ชอบธรรม มหาวิทยาลัยมหิดล 4.ร.ต.ท.(ญ)ศิรินาถ ป้อมวงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก