กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
(Screening for possible health impact)
รสริน อมรพิทักษํพันธ์ สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
Research Mapping.
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
คุณลักษณะของสังคมไทยที่ พึงปรารถนา ต้องเป็นสังคมที่ผาสุกและเป็นธรรม ต้องเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย มีเหตุผล เคารพในกติกาของสังคม ต้องเป็นสังคมที่พึ่งพาตนเองได้
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ อก.
โดย นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา
ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 26 มกราคม 2558
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศสำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง การนับระยะเวลาตามประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบคณะกรรมการกํากับกิจการ พลังงาน ว่าด้วยการขอรับใบอนุญาต และการอนุญาตการประกอบกิจการ พลังงาน ( ฉบับที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ เพื่อการควบคุมกิจการภายใต้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี

1 2 หัวข้อการบรรยาย หลักการ แนวคิด การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ การใช้แบบประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

หลักการแนวคิด การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ หลักการแนวคิด การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

ความหมายของ HIA ความหมาย : การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Impact Assessment) กระบวนการ วิธีการและเครื่องมือ ที่หลากหลาย ที่ใช้เพื่อการคาดการณ์ถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากนโยบาย แผนงานหรือโครงการที่มีต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน และการกระจายของผลกระทบในกลุ่มประชากร และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจะกำหนดถึงกิจกรรมที่เหมาะสมในการจัดการผลกระทบเหล่านั้น (องค์การอนามัยโลก/IAIA 2006)

หลักการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ใช้หลักความเข้าใจสุขภาพองค์รวม/ปัจจัยกำหนดสุขภาพ/ความเชื่อมโยงของการพัฒนาสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ อาศัยการมีส่วนร่วมในการพิจารณาจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทำให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและสนใจ/ตระหนักต่อสุขภาพ ใช้หลักพิจารณาด้วยเหตุและผลเปรียบเทียบจากหลักฐานวิทยาศาสตร์/ข้อมูลเชิงประจักษ์ต่างๆ ใช้หลักการประเมินจากโครงร่าง/ข้อเสนอที่อาจจะเกิดผลกระทบต่อสมาชิกในชุมชนทุกคน หรือเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง/ให้ความสำคัญต่อกลุ่มอ่อนด้อย ช่วยพิจารณาการพัฒนาแบบยั่งยืนที่อาศัยหลักของผลกระทบระยะสั้น ระยะยาว

กรอบแนวคิด : ความเชื่อมโยงของการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ สิ่งคุกคามจากกิจกรรมทั้งก่อนดำเนินการ ระหว่างดำเนินการ ปิดโครงการ โครงการ/กิจการพัฒนา ปัจจัยกำหนดสุขภาพเกิดการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบต่อสุขภาพ ส่งผลต่อ คนงานและประชาชนที่อยู่โดยรอบ ผลกระทบด้านบวก ผลกระทบด้านลบ มาตรการในการส่งเสริม มาตรการในการลดผลกระทบ

การนำ HIA ไปใช้ กรณีที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายเป็นการใช้เพื่อให้เกิดการตัดสินใจในการอนุมัติ อนุญาตโครงการ กรณีไปประยุกต์ใช้ในท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนให้ท้องถิ่นใช้ HIA เป็นเครื่องมือในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดีของประชาชน”

การนำ HIA ไปใช้ นโยบาย โครงการ การนำไปใช้ การเคลื่อน HIA กิจกรรม/กิจการ โครงการ นโยบายสร้างเสริมสุขภาพ นโยบายที่อาจส่งผลกระทบทางลบ นโยบายหรือกิจกรรมระดับชุมชนท้องถิ่น นโยบายสาธารณะและการดำเนินกิจกรรมด้านการวางแผนพัฒนา กิจการตามเงื่อนไขของ พรบ.การสาธารณสุข 2535 - โครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง (11 ประเภทโครงการ) - โครงการหรือกิจการต้องศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (34 ประเภทโครงการ) การนำไปใช้ ประยุกต์ใช้ตาม พรบ.การสาธารณสุข บังคับใช้ตามกฎหมาย พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การเคลื่อน HIA หลักเกณฑ์ละวิธีการ ประเมินผลด้านสุขภาพที่เกิดจากนโยบายสาธารณะ ตามพรบ.สุขภาพแห่งชาติ 2550 (สช) เชื่อมโยงและบังคับตามกฎหมาย (มาตรา 67 วรรคสอง) ไม่บังคับตามกฎหมาย มาตรา 11 ประชาชนสามารถเรียกร้องให้มีการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพได้ ตามพรบ.สุขภาพแห่งชาติ 2550

กิจการที่เป็น อันตรายต่อ สุขภาพ กรอบแนวคิดการประยุกต์ใช้หลักการ HIA ใน พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมกำกับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ) เงื่อนไขในการควบคุมกำกับดูแลการประกอบกิจการ คือ 1) การดูแลสุขภาพ หรือ สุขลักษณะของสถานที่ที่ใช้ดำเนินกิจการ และ 2) มาตรการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ สภาวะสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการทั้งในด้านการดูแลรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบของโครงสร้างอาคาร การรักษาสภาพการใช้งานของเครื่องมือ อุปกรณ์ ระบบการระบายอากาศ แสง เสียง ระบบการจัดการสิ่งปฏิกูลมูลฝอย สุขลักษณะของสถานที่ กิจการที่เป็น อันตรายต่อ สุขภาพ ระบบป้องกันอุบัติภัย อัคคีภัย ระบบการป้องกันการปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์อาหาร ระบบการป้องกันตนเองของผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันปัญหาด้านมลพิษที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของคนงาน ชุมชนข้างเคียง และประชาชนทั่วไป มาตรการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ การคมนาคมขนส่ง/การติดตามตรวจสอบ/ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ฯลฯ มาตรการอื่นๆ ระยะดำเนินการของกิจการ (ก่อสร้าง/ดำเนินการ)