แนวทางการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ครั้งที่ 3-2/2557
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
PrtScrn หน้าปก.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
การกำหนด การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 ณ โรงแรม บัดดี้ โอเรียนทอล ริเวอร์ไซด์ ปากเกร็ด นนทบุรี วันที่ 25-26 กุมภาพันธ์ 2557 โดย ... กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย

หัวข้อนำเสนอ แนวทางการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย 25 ก.พ.57 10.30 น. ความเป็นมาของการพัฒนาระบบราชการ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรมอนามัย กลไกการดำเนินการของกรมอนามัย คำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน 25 ก.พ.57 13.00 น. รายละเอียดตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินผล โดยเจ้าภาพตัวชี้วัด 2 - 9 26 ก.พ.57 09.00 น. การรายงานและการประเมินผล การกระจายค่าเป้าหมายตัวชี้วัดของกรมอนามัย ให้หน่วยงาน

ความเป็นมาของ ... การพัฒนาระบบราชการ 1 ความเป็นมาของ ... การพัฒนาระบบราชการ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกินจำเป็น ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวก ได้รับการตอบสนองความต้องการ มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ การบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี เป้าหมาย หลักการ บริหาร ตราขึ้นเป็น กฎหมาย พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 (แนวทางการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมชัดเจน) ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ โดยจัดทำ “คำรับรองการปฏิบัติราชการ” สำนักงาน ก.พ.ร. 3

เพื่อสร้างระบบราชการที่มีประสิทธิภาพ ความพร้อมรับผิดชอบ และโปร่งใส การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ นายกรัฐมนตรี และ ค.ร.ม. เพื่อสร้างระบบราชการที่มีประสิทธิภาพ ความพร้อมรับผิดชอบ และโปร่งใส รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง โดยสร้างระบบความรับผิดชอบต่อผลงานในแต่ละระดับไว้อย่างเป็นรูปธรรม ใน 4 มิติ ได้แก่ ประสิทธิผล คุณภาพการบริการ ประสิทธิภาพ การพัฒนาองค์กร อธิบดี หน่วยงานในสังกัด 4

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2557 สำนักงาน ก.พ.ร. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2557 การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม ที่สอดคล้องกับนโยบายสำคัญ เร่งด่วนของรัฐบาล และภารกิจ หลักของกระทรวง 2. ตัวชี้วัดของกระทรวง ที่มี เป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 3. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement : SLA) มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 10) 4. การเบิกจ่ายงบประมาณ 5. การประหยัดพลังงาน การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 20) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ 7. การสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ (5) (15) (5) (5) 5

การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรมที่สอดคล้อง กับนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล และ ภารกิจหลักของกระทรวง 2. ตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) กรมอนามัยคัดเลือก 4 ตัวชี้วัด บริการ ANC คุณภาพ ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ มูลฝอยติดเชื้อได้รับการจัดการ อย่างถูกสุขลักษณะ ส้วมสาธารณะผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน HAS กำหนดจากยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) 11 ประเด็น จะวัดเฉพาะกระทรวงที่เป็นเจ้าภาพ โดยส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ต้องร่วมดำเนินการ 6 6

ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ขับเคลื่อนพัฒนาประเทศ และเป็นกรอบในการจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2557 ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ 4 ด้าน ยุทธศาสตร์ย่อย 29 ประเด็น เลือกเป็นตัวชี้วัด ปี 2557 จำนวน 11 ประเด็น การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าทียมกันทางสังคม การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 7

ตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) สศช. สำนักงาน ก.พ.ร. และ สำนักงบประมาณ ร่วมกัน กำหนด Joint KPIs ปี 2557 ส่งเสริมการลงทุน 1.1 Investment 1.2 Trading อก. การจัดการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร (Zoning) กษ. การคุ้มครองทางสังคม (ศูนย์ช่วยเหลือทางสังคม : OSCC) พม. 4. Green City มท. การเร่งแก้ไขปัญหาความไม่สงบและนำสันติสุขกลับสู่จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเร็ว สำนักนายก 6. SME และ OTOP 7. ปฏิรูปการศึกษา ศธ. 8. การผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ 9. การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (Life Cycle) 10. สร้างรายได้จากการท่องเที่ยว กก. 11. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กระทรวงสาธารณสุข มีความเกี่ยวข้อง ต้อง ร่วมดำเนินการ 3 ประเด็น หากกรมอนามัยเกี่ยวข้อง ต้องกำหนดเป็นตัวชี้วัด ของกรมด้วย 8

บทบาทของกระทรวงสาธารณสุข ต่อ Joint KPI ร่วมดำเนินการ จัดตั้งและ ประชาสัมพันธ์ศูนย์ช่วยเหลือ สังคม OSCC ปัญหาสำคัญ : การตั้งครรภ์ไม่ พร้อม การคุ้มครองทางสังคม (ศูนย์ช่วยเหลือทางสังคม :OSCC) 9. การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (Life Cycle) บูรณาการแผนงาน โครงการระหว่าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กระทรวงสาธารณสุขเป็นเจ้าภาพ หลักเด็กแรกเกิด-ปฐมวัย 10. สร้างรายได้จากการท่องเที่ยว ก.สธ.เกี่ยวข้องในประเด็นความเชื่อมั่น :-พัฒนาธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ บริการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพสำหรับชาวต่างประเทศ ให้มีองค์กรควบคุมดูแลกำหนดมาตรฐานรับรองคุณภาพบริการ ให้ผู้ประกอบการภัตตาคารและร้านอาหารควบคุมดูแลมาตรฐานและสุขอนามัยของตนเองให้มากขึ้นเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้บริโภค ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การจัดงานเทศกาลอาหารไทยให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย 9

การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) ตัวชี้วัดที่ 3. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement : SLA) วิธีดำเนินการ : ทดลองในหน่วยงานนำร่อง ซึ่งสำนักงาน ก.พ.ร. เลือกงานบริการ 44 งานบริการ กลุ่มเป้าหมาย : 17 กระทรวง 40 กรม การขยายผล : นำไปใช้ในการติดตามประเมินผลการให้บริการ ของทุกส่วนราชการ (กรมบริการ) ในปี 2558 กระทรวงสาธารณสุข มีเป้าหมาย 4 เรื่อง ได้แก่ สำนักงานปลัด ตรวจรักษาในแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลในสังกัด กรมการแพทย์ ตรวจรักษาในแผนกผู้ป่วยนอกของหน่วยงานบริการในสังกัด กรมสุขภาพจิต ตรวจรักษาในแผนกผู้ป่วยนอกของหน่วยงานบริการในสังกัด กรมควบคุมโรค งานออกใบรับรองแหล่งผลิตสินค้า 10

สัญญาระดับคุณภาพการให้บริการ (SLA : Service Level Agreement) คือ พันธะสัญญาในการให้บริการของหน่วยบริการในแต่ละองค์กร ระหว่างผู้รับบริการ กับผู้ให้บริการ โดยมีการกำหนดเป้าหมาย ระดับประสิทธิภาพการส่งมอบงานบริการ การรับประกันไว้อย่างชัดเจน และรับรู้โดยทั่วกัน ตัวอย่าง มาตรฐานในการให้บริการทางศุลกากร บริการ ที่สำคัญ แนวทาง/เวลา ให้บริการ 1. การนำเข้า/ส่งออกสินค้า โดยระบบ IT 2. กรณีสินค้าถูกตรวจสอบด้วยเครื่องเอกซเรย์ ภายใน 15 นาที 3. กรณีเจ้าหน้าที่เปิดตรวจสินค้า ภายใน 30 นาที 4.การตอบข้อซักถามเรื่องพิกัดอัตราศุลกากร ภายใน 30 วันทำการ ต่อชนิดสินค้า 11

การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 10) ตัวชี้วัดที่ 4 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ 5 การประหยัดพลังงาน ด้านไฟฟ้า ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง 12

ตัวชี้วัด 6 : การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (น้ำหนัก ร้อยละ 15) ประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินผลจากความครบถ้วน ทันสมัย และส่งรายงานตามกำหนด ระดับความสำเร็จของการจัดทำ รายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาองค์การ ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ Survey Online เลือกประเด็นที่มีค่า GAP สูงที่สุดแต่ละด้าน มาทำแผน พัฒนาสมรรถนะองค์การ ประเมินผลจากการส่งแผนตามกำหนด และค่า GAP ครั้งที่ 1เปรียบเทียบกับครั้งที่ 2 13

3 กลไกการดำเนินงานพัฒนาระบบราชการของกรมอนามัย คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย หน่วยงานเจ้าภาพตัวชี้วัด คณะทำงาน หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 คณะทำงานพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ คณะทำงานประสานและสนับสนุน PMQA เครือข่าย กพร. หน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย 14

บทบาทของผู้เกี่ยวข้อง กำหนดยุทธศาสตร์ และกลไก สื่อสารยุทธศาสตร์ ผลักดันให้เกิดการปฏิบัติ เสนอแนะและให้คำปรึกษา สนับสนุน กำกับดูแล แก้ไขปัญหาอุปสรรค สนับสนุนการเพิ่มศักยภาพบุคลากร คณะกรรมการ กพร. กรมอนามัย ศึกษาเกณฑ์ที่จะประเมิน วางแผน กำหนดแนวทางดำเนินงาน กำหนดเกณฑ์การประเมินระดับหน่วยงาน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ร่วมกับหน่วยงาน ติดตามประเมินผล รวบรวมผลและ รายงานต่อคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เจ้าภาพตัวชี้วัด และ คณะทำงาน PMQA ถ่ายทอด ผลักดันการพัฒนาระบบราชการในหน่วยงาน ให้คำปรึกษาในหน่วยงาน ติดตามประเมินผล และรายงานต่อกรมอนามัย ประสานและดำเนินการร่วมกับคณะกรรมการ/ หน่วยงานส่วนกลาง เครือข่าย กพร. กรมอนามัย        15

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2557 สำนักงาน ก.พ.ร. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2557 การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม ที่สอดคล้องกับนโยบายสำคัญ เร่งด่วนของรัฐบาล และภารกิจ หลักของกระทรวง 2. ตัวชี้วัดของกระทรวง ที่มี เป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 3. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement : SLA) มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 10) 4. การเบิกจ่ายงบประมาณ 5. การประหยัดพลังงาน การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 20) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ 7. การสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ (5) (15) (5) (5) 16

แนวทางดำเนินงานของกรมอนามัย หน่วยงานที่มีบทบาทเกี่ยวข้องเป็นผู้รับผิดชอบ ดำเนินการ ทุกหน่วยงานกำหนดตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก กรมอนามัยไม่ถูกเลือกงานบริการ ไม่ต้องดำเนินการในปี 2557 บุคลากรร่วมตอบแบบสำรวจออนไลน์ กอง จ.และ กพร.จัดประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทำแผนพัฒนาองค์การ คณะทำงาน PMQA ดำเนินการปรับปรุงในภาพรวมของกรม ประเมินผลจากการสำรวจออนไลน์ครั้งที่ 2 กำหนดเป็นตัวชี้วัด ระดับหน่วยงาน เพื่อร่วมดำเนินการ กพร.ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่วนที่ต้องให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ กำหนดเป็นตัวชี้วัด 17

4. คำรับรองการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย 18

ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน ปี 2557 4 ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน ปี 2557 การประเมินประสิทธิผล (300 คะแนน) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (หน่วยงานละไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด) การพัฒนาองค์การ (500 คะแนน) 5. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 6. การจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7. การรายงานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย 8. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมอนามัย 9. การดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมอนามัย การประเมินประสิทธิภาพ (300 คะแนน) 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ 3. การประหยัดพลังงาน 4. การป้องกันและปราบปราม การทุจริต 19

อำนวยการ วิชาการ วิชาการ ศูนย์อนามัย ตัวชี้วัดที่ 1 : การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน 1. สำนัก ส. 2 2. สำนัก ท. 3 3. สำนัก ภ. 4. สำนัก อพ. 1 5. กอง อ. 6 ศพส. 7. กทป. อำนวยการ วิชาการ 1. กตส. 1 2. สลก. 3. กอง ค. 4. กอง จ. 5. กอง ผ. 6. กพร. 2 วิชาการ 1. สำนัก ว. 2 2.สำนัก สอ. 3 3. กอง ป. 1 4. ศกม. 5. Lab ศูนย์อนามัย ศอ.1 ศอ.2 ศอ.3 ศอ.4 ศอ.5 ศอ.6 ศอ.7 ศอ.8 ศอ.9 ศอ.10 ศอ.11 ศอ.12 1 2 3 20

การวิเคราะห์ประโยชน์ที่ได้จากการดำเนินงานตัวชี้วัดที่ 1 หน่วยงานสายอำนวยการ รายงานผลการตรวจสอบ ที่แสดงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน และข้อเสนอแนะให้แก่ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน 1. กตส. การตรวจสอบภายใน 2. สลก. การดำเนินงานสารบรรณ ตามระเบียบสำนักนายก 3. กอง จ. การประเมินผลการปฏิบัติ ราชการและเลื่อนเงินเดือน 4. กอง ค. การจัดทำรายงาน การเงินของกรม 5. กอง ผ. การพัฒนาระบบสารสนเทศ 6. กพร. การประเมินการพัฒนาระบบ ราชการของหน่วยงาน ความพึงพอใจต่อการ สนับสนุนของ กพร. ทุกหน่วยงานปฏิบัติงานสารบรรณถูกต้องตามระเบียบสำนักนายกฯ ได้แก่ การรับ-ส่ง การจัดเก็บ การทำลายหนังสือราชการ ดำเนินการเรื่องการประเมินผลการปฏิบัติราชการและเลื่อนเงินเดือนที่มีประสิทธิภาพ รายงานการเงิน ที่ผู้บริหารใช้ประโยชน์ เพื่อวางแผน และบริหารจัดการ ระบบสารสนเทศของกรมที่มีประสิทธิภาพ สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการของหน่วยงาน 21

ตัวชี้วัดที่ 1 : การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรมอนามัย หน่วยงานสายส่งเสริมสุขภาพ 7. สำนัก ส. 1) ระบบบริการ ANC คุณภาพ 2) ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 8. สำนัก ท. 1) เด็กปฐมวัยมีปัญหาฟันน้ำนมผุ 2) โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ฯ 3) ผู้สูงอายุได้รับฟันเทียมพระราชทาน 9. สำนัก ภ. 1) โรงเรียนมีการจัดการอาหารที่ดีเพื่อลดภาวะอ้วน 2) องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ 3) องค์กรต้นแบบไร้พุง 10. สำนัก อพ. สถานบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน  11. กอง อ. คลินิกไร้พุง (DPAC) 12. ศพส. เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 13. กทป. 1) ผลงานวิจัยที่ได้รับการนำเสนอในเวทีวิชาการ 2) ความพึงพอใจของภาคีเครือข่าย 22

ตัวชี้วัดที่ 1 : การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรมอนามัย หน่วยงานสายอนามัยสิ่งแวดล้อม 14. สำนัก ว. 1) มูลฝอยติดเชื้อได้รับการจัดการอย่างถูกสุขลักษณะ 2) ส้วมสาธารณะผ่านเกณฑ์ (HAS) 15.สำนัก สอ. 1) การพัฒนาตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย 2) Clean Food Good Taste Plus 3) สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วย และระบบการจัดการน้ำบริโภคผ่านเกณฑ์ 16. กอง ป. จังหวัดที่มีระบบและกลไกการคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 17. ศกม. 1) จังหวัดที่มีคณะอนุกรรมการสาธารณสุขดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ 18. ศูนย์ Lab 1) การตรวจวิเคราะห์และทดสอบคุณภาพน้ำ 2) ความพึงพอใจของผู้รับบริการ 23

ตัวชี้วัดที่ 1 : การสนับสนุนเขตสุขภาพของศูนย์อนามัยที่ 1-12 กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ ศอ.1 มีแผน ดำเนินงานตามแผน นิเทศติดตาม วิเคราะห์ รายงานผล และจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ศอ.2 จัดระบบข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ ปัญหา มีโครงการที่ผลักดันในพื้นที่ ศอ.3 ประสาน ทำแผนยุทธศาสตร์เขต ติดตาม สนับสนุนการดำเนินงาน จำนวนองค์ความรู้/นวัตกรรม ศอ.4 ทำแผนยุทธศาสตร์เขต ประเมินปัญหา วางระบบงาน M&E ร่วมแก้ปัญหา ติดตามผล ศอ.5 สรุป วิเคราะห์ข้อมูล จัดระบบข้อมูล ความพึงพอใจของทีมเขตสุขภาพ จำนวนนวัตกรรม/ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/วิชาการ ศอ.6 มีกลไก ร่วมวางแผน สนับสนุน จัดทำข้อเสนอแนะเชิงวิชาการ/นโยบาย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ งานบริการสาธิตส่งเสริมสุขภาพในศูนย์อนามัย) 24

กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ ศอ.7 การมีส่วนร่วม มีแผนสนับสนุน และความสำเร็จตามแผน ศอ.8 ประสาน ทำแผนยุทธศาสตร์เขต ติดตาม สนับสนุนการดำเนินงาน จำนวนองค์ความรู้/นวัตกรรม ศอ.9 ความพึงพอใจของทีมเขตสุขภาพ จำนวนนวัตกรรม ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/วิชาการ ศอ.10 รายงานสถานการณ์ประจำปี จำนวนการรายงานสถานการณ์ตัวชี้วัด โครงการที่เป็นนโยบายสำคัญของเขต ข้อเสนอแนะเชิงวิชาการ/นโยบาย ความพึงพอใจของผู้บริหารเขต ศอ.11 จัดการข้อมูล :-จัดเก็บ วิเคราะห์ บทสรุปผู้บริหาร ความพึงพอใจของทีมบริหาร ศอ.12 รายงานสถานการณ์/การศึกษา จำนวนแผนงาน โครงการ สื่อสนับสนุน จำนวนตัวชี้วัดกรมอนามัยผ่านเกณฑ์ 25

ประโยชน์ที่ได้จากการดำเนินงาน การเสนอตัวชี้วัด มี 2 ลักษณะ คือ กระบวนการปฏิบัติงาน ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ที่ได้จากหลักฐานอ้างอิง Best practice model กลไก ระบบข้อมูล กระบวนการทำงาน กลไก ระบบงาน ระบบข้อมูลเพื่อสนับสนุนเขตสุขภาพ แผนสนับสนุนเขตสุขภาพ แผนยุทธศาสตร์สุขภาพเขตสุขภาพ รายงานผลการดำเนินงาน/สนับสนุนเขตสุขภาพ รายงานการติดตามประเมินผล โครงการที่ศูนย์ผลักดันให้เกิดในพื้นที่ รายงานสถานการณ์สุขภาพ องค์ความรู้ นวัตกรรม สรุปบทเรียน ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เชิงวิชาการ ต่อการแก้ไขปัญหาระดับเขต ผลการสำรวจความพึงพอใจ สถานการณ์สุขภาพ องค์ความรู้ นวัตกรรม บทเรียนตามพื้นที่ ข้อเสนอแนะเชิง นโยบาย/วิชาการ 26

การดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ การประเมินประสิทธิผล (300 คะแนน) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (หน่วยงานละไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด) การพัฒนาองค์การ (500 คะแนน) 5. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 6. การจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7. การรายงานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย 8. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมอนามัย 9. การดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมอนามัย เจ้าภาพชี้แจง รายละเอียดตัวชี้วัด และเกณฑ์ การประเมินผล การประเมินประสิทธิภาพ (300 คะแนน) 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ 3. การประหยัดพลังงาน 4. การป้องกันและปราบปราม การทุจริต 27

Q&A ลาวัณย์ ขำเลขะสิงห์ โทรศัพท์ : 089 810 2574 โทรศัพท์ : 089 810 2574 Line ID code : lawan2574 28