WAR ROOM โรคไข้เลือดออก วันที่ 3 กันยายน 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
Advertisements

การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
10 ลำดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ข้อมูล 1 มกราคม - 31 พฤษภาคม 2556 ลำดับโรค จำนวน ป่วย อัตรา ป่วย จำนวน ตาย อัตราป่วย ตาย 1 Diarrhoea 2,
( 1 มค.-2 สค.51 ) ระยอง 2 ราชบุรี 3 อ่างทอง 4 กาญจนบุรี 5 อุตรดิตถ์ 6 นครสวรรค์
สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก.
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัด กำแพงเพชร ปี 2556 พบผู้ป่วย 484 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 ข้อมูล ณ 23 มิถุนายน.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอด่านซ้าย
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

WAR ROOM โรคไข้เลือดออก วันที่ 3 กันยายน 2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี

War room กระทรวงสาธารณสุข 16 สิงหาคม 2556 แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก” War room กระทรวงสาธารณสุข 16 สิงหาคม 2556

ร่วมกันลดคนป่วย คนตาย ระยะเวลาดำเนินการ ๒๒ สิงหาคม – ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๖ ทุกบ้าน ทุกครอบครัว ทุกหน่วยงานทำจริงจัง สัปดาห์ละครั้ง ต่อเนื่อง ๘ สัปดาห์ “กำจัดลูกน้ำ และยุงในบ้าน สะสาง ทำลายขยะแหล่งเพาะพันธ์ยุงในบ้านนอกบ้านและพื้นที่สาธารณะ” พร้อมกันทั่วประเทศ ร่วมกันลดคนป่วย คนตาย

แนวทางปฏิบัติการในพื้นที่ จังหวัดปรับwar room เป็น ศูนย์ปฏิบัติการเอาชนะไข้เลือดออก โดย ผวจ. เป็นประธาน นพ.สสจ. เป็นเลขา อำเภอเปิดศูนย์ปฏิบัติการเอาชนะไข้เลือดออก โดย นายอำเภอ เป็นประธาน สาธารณสุขอำเภอ เป็นเลขา

บทบาทศูนย์ปฏิบัติการเอาชนะไข้เลือดออก จังหวัด/อำเภอ ติดตามสถานการณ์ วิเคราะห์พื้นที่เป้าหมาย ชี้เป้า ระดมทรัพยากร

บทบาทศูนย์ปฏิบัติการเอาชนะไข้เลือดออก จังหวัด/อำเภอ ดำเนินการควบคุม ป้องกันโรค - ควบคุมโรครายหมู่บ้าน (ที่พบผู้ป่วย) พ่นสารเคมี ๒ รอบ (วันที่ ๐, ๗) x ๒ ครั้ง ควบคุมพาหะยุงลายทุกสัปดาห์ x ๘ ครั้ง ( โดย เจ้าของบ้าน อสม. กำนัน ผญบ. ผู้นำชุมชน)

บทบาทศูนย์ปฏิบัติการเอาชนะไข้เลือดออก จังหวัด/อำเภอ ป้องกันล่วงหน้า - ควบคุมพาหะยุงลายทุกสัปดาห์ x ๘ ครั้ง รณรงค์ติดป้ายประชาสัมพันธ์ทุกอำเภอ สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ - กระตุ้น ให้ความรู้ให้เข้าถึงประชาชนในพื้นที่อย่างเข้าใจ เพื่อให้ทำอย่างต่อเนื่องและจริงจัง โดย อสม. เยี่ยมบ้าน เคาะประตูบ้าน กำนัน ผญบ. กำชับ กระตุ้นเตือน ตรวจสอบแต่ละบ้าน

บทบาทศูนย์ปฏิบัติการเอาชนะไข้เลือดออกจังหวัด/อำเภอ ติดตามประเมินผล รายงานจังหวัด , กรมการปกครอง ,รัฐมนตรี,นายกรัฐมนตรี (มีทีมM&E ร่วมระดับกระทรวง) งบประมาณ ใช้งบฯ ท้องถิ่นและพื้นที่

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก รายงานผู้ป่วยปี 2556 เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ณ ช่วงเวลาเดียวกัน ร้อยละ 199.2 ( 3 เท่า) ประจำสัปดาห์ที่ 34 เดือนสิงหาคม 2556 (ข้อมูล ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2556 ) สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เปรียบเทียบสถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 34 2556 2555 2554 2553 2552 ป่วย (ราย) 109,468 36,587 44,330 75,852 33,719 ตาย (ราย) 102 37 34 87 27 อัตราป่วยต่อแสน 170.33 57.28 69.78 119.40 53.19 อัตราป่วยตาย(%) 0.09 0.10 0.08 0.11 0.08

แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำแนกรายเดือน ปี 2556 สัปดาห์ที่ 34 (ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2556) เสียชีวิต 9 12 6 15 18 17 22 3 แหล่งข้อมูล : รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 10 10

สถานการณ์รายเครือข่ายบริการ สัปดาห์ที่ 34 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้

อัตราป่วย 89.63 ต่อแสนประชากร 10 อันดับอัตราป่วยระดับประเทศ ( 1 มค. ถึง 26 สค.56 ) ลำดับ จังหวัด อัตราป่วย 1 เชียงราย 2 เชียงใหม่ 3 ภูเก็ต 4 แม่ฮ่องสอน 5 เลย 6 กระบี่ 7 สงขลา 8 นครพนม 9 เพชรบูรณ์ 10 พังงา 617.40 568.42 481.85 473.38 400.73 385.50 374.86 368.69 301.84 280.24 เพชรบุรี อัตราป่วย 89.63 ต่อแสนประชากร ประเทศ อันดับที่ 53 เขต อันดับที่ 2 1.สมุทรสาคร 2.เพชรบุรี 3.สมุทรสงคราม 4.ราชบุรี 5.ประจวบฯ 6.สุพรรณบุรี 7.กาญจนบุรี

โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดเพชรบุรี ข้อมูล 1 มกราคม - 31 สิงหาคม 2556 ลำดับ โรค จำนวนป่วย อัตราป่วย จำนวนตาย อัตราป่วยตาย 1 Diarrhoea 5168 1108.82 0.00 2 Pneumonia 1020 218.85 16 1.57 3 D.H.F. 446 95.69 4 H.conjunctivitis 414 88.83 5 Food Poisoning 379 81.32 6 Chickenpox 247 53.00 7 Hand,foot and mouth 188 40.34 8 S.T.D.Total 154 33.04 9 Malaria 72 15.45 1.39 10 Influenza 48 10.30

แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดเพชรบุรีปีพ.ศ. 2555-2556 จำแนกรายเดือนเปรียบเทียบมัธยฐาน 5 ปี (2551-2555) วันที่ 31 สิงหาคม 2556 จำนวนผู้ป่วย

ตารางจำนวนผู้ป่วย/อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี 2556 จังหวัดเพชรบุรี จำแนกรายอำเภอและรายเดือน (ตามวันเริ่มป่วย) 1 มค. ถึง 31 สค. 56 (รง.506)

จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก พื้นที่เฝ้าระวังการระบาดโรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 32 – 35 (4 สค.56 – 31 สค.56) อำเภอ ตำบล รพ./รพ.สต. หมู่ที่ จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 32 (4-10 สค.56) สัปดาห์ที่ 33 (11-17 สค..56) สัปดาห์ที่ 34 (18 -24 สค.56) สัปดาห์ที่ 35 (25 -31 สค.56) เมือง ช่องสะแก 1 ท่ายาง ท่าไม้รวก 6 2 บ้านลาด สะพานไกร