การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
Advertisements

วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
Research Mapping.
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การดำเนินงานสาธารณสุขจากอดีตถึงปัจจุบัน
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
แรงงานนอกระบบคือใคร ใครคือแรงงานอกระบบ
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
โรงพยาบาลหนองวัวซอ จ.อุดรธานี วันที่ 29 กรกฎาคม 2554
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
โดย นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา
ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 26 มกราคม 2558
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ร นายสมโภชน์ ศรีอัสดร นักวิชาการสาธารณสุข 9 ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

การมีสุขภาพแข็งแรง (Health) ความหมายสุขภาพ การมีสุขภาพแข็งแรง (Health) ร่างกาย (Physical Health) จิตใจ (Mental Health) สังคม (Social Health) ปัญญา/จิตวิญญาณ (Spiritual Health)

ความหมายของสิ่งแวดล้อม สิ่งต่าง ๆ ทั้งทางธรรมชาติและทางสังคมที่อยู่รอบ ๆ มนุษย์ทั้งที่ดีและไม่ดี (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2542)

ความหมายของสิ่งแวดล้อม Environment มาจากภาษาฝรั่งเศสคำว่าEnviron แปลว่า Around คำว่า “Environment” หมายถึง “Totality of Man’s Surroundings” นั่นคือ ทุกสิ่งที่ล้อมรอบตัวเรา ทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต สิ่งที่เป็นสสาร พลังงาน และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา (ณรงค์ ณ เชียงใหม่, สุขภาพสิ่งแวดล้อม 2530)

สิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ (Biological Environment) สิ่งแวดล้อมทางเคมี (Chemical Environment) สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Environment) สิ่งแวดล้อมทางสังคม (Social Environment)

สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สิ่งที่ไม่มีชีวิตทั้งสิ่งที่เป็นธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรือน ถนนหนทาง เครื่องจักร อุปกรณ์ ความร้อน แสงสว่าง เสียง ฯลฯ

สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ สิ่งที่มีชีวิต ทั้งพืช สัตว์ และคนด้วยกัน เช่นต้นไม้ พืชผักผลไม้ สัตว์เลี้ยง สัตว์ป่า สัตว์พาหะนำโรค เชื้อโรค พืชสมุนไพร ฯลฯ

สิ่งแวดล้อมทางเคมี สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่เป็นสารเคมี วัตถุ ผลิตภัณฑ์ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ก๊าสพิษ เขม่าควัน สารฆ่าแมลง ปุ๋ยเคมี น้ำมันเชื้อเพลิง ฯลฯ

สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ ฐานะทางเศรษฐกิจ รายได้ รายจ่าย ฯลฯ

สิ่งแวดล้อมทางสังคม โครงสร้างของการอยู่ร่วมกัน รวมถึงผลสืบเนื่องจากความคิดหรือการกระทำที่มีต่อกัน ความเชื่อ ค่านิยม จารีต ประเพณี ฯลฯ

อนามัยสิ่งแวดล้อม ทั้งกายภาพ เคมี ชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม 6 อนามัยสิ่งแวดล้อม การควบคุมกระบวนการ อิทธิพลและปัจจัย ทั้งกายภาพ เคมี ชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม ที่จะทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ ทางกาย...จิตใจ...สังคม…และปัญญา (ทั้งทางตรง & ทางอ้อม)

6 อนามัยสิ่งแวดล้อม การควบคุมและจัดการสิ่งแวดล้อม ทั้งทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม ให้เอื้อต่อสุขภาพ

สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม การกระทำโดยตรงของมนุษย์ การพัฒนาและการใช้เทคโนโลยี การเพิ่มจำนวนของประชากร

หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม การระดมความมีส่วนร่วม การจัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ การจัดหรืออำนวยความสะดวก การให้การศึกษากับประชาชน การใช้มาตรการทางกฎหมาย

หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม การระดมความมีส่วนร่วม สิ่งแวดล้อมมีลักษณะหลากหลายและซับซ้อน เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ การกู้คืนยิ่งช้าและยุ่งยากกว่า เป็นเรื่องที่ต้องทำร่วมกันทั้งชุมชน และใช้เวลานานจึงจะเห็นผล

หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม การจัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ หมายถึงการจัดสิ่งแวดล้อมให้ลดความเสี่ยงด้านสุขภาพ จนอยู่ในระดับที่ปลอดภัย เครื่องมือที่ใช้วัดว่าควรดำเนินการอย่างไร และเพียงใด จึงจะปลอดภัย คือ “เกณฑ์มาตรฐาน”

หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม การจัดหรืออำนวยความสะดวก การจัดให้มีบริการ วิธีการ หรือแนวทางอื่นใด เพื่อช่วยสนับสนุนการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดให้มีที่รองรับขยะ มีส้วมสาธารณะ มีรางระบายน้ำสาธารณะ ฯลฯ

หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม การให้การศึกษากับประชาชน กระบวนการสร้างความร่วมมือในการแก้ปัญหา จำเป็นต้องให้ประชาชนเกิดความรู้ก่อน เพื่อส่งผลให้เกิดความตระหนัก

หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม หลักการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้มาตรการทางกฎหมาย กฎหมาย เป็น กติกาของสังคม ที่จะช่วยคุ้มครองความเป็นอยู่ปกติของประชาชน และควบคุมมิให้เกิดการเอาเปรียบซึ่งกันและกัน รวมถึงการทำลายสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นสมบัติร่วมกัน

การดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 25 การดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ พัฒนาระบบ การดำเนินงาน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ค้นหาปัญหาที่เป็น อันตรายต่อสุขภาพ จากข้อมูลการเฝ้าระวัง รับรองมาตรฐาน คุณภาพอนามัย สิ่งแวดล้อม& คุณภาพชีวิต จัดหาแนวทางคู่มือเกณฑ์ กำหนดมาตรการ มาตรฐานงาน ต่างๆภายใต้กฎหมายสาธารณสุข &กฎหมายที่เกี่ยวข้อง พัฒนาเทคโนโลยีที่ เหมาะสม&ถ่ายทอดสู่ เครือข่าย/ชุมชน/ท้องถิ่น องค์กรภายใต้กลยุทธ์ เมืองน่าอยู่ จัดระบบตรวจสอบ ติดตามประเมินผล& จัดระบบการ เฝ้าระวังต่อเนื่อง

การอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างงานอนามัยสิ่งแวดล้อม จากอดีตสู่ปัจจุบัน 2503

ผลกระทบที่เกี่ยวข้อง แนวคิด “คน” เป็นศูนย์กลาง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก การเจริญเติบโตของเมือง การกระจายอำนาจ การเจริญ/พัฒนาทาง Tech. แรงงานต่างด้าว

ผลกระทบที่เกี่ยวข้อง โลกาภิวัตน์ ระดับของปัญหาเป็น Inter Country มากขึ้นเช่น SARS, Invasive species, การทิ้งสารพิษ ไข้หวัดนก ฯลฯ ผลกระทบของพันธะสัญญาระหว่างประเทศ ความร่วมมือระหว่างประเทศ

ทิศทางงานอนามัยสิ่งแวดล้อม บริบทของงานอนามัยสิ่งแวดล้อม(สิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อสุขภาพคน) Tech ก้าวหน้ามากขึ้น องค์ความรู้ด้าน Env. H. ต้องพัฒนาให้ทัน สร้างศูนย์กลางการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ผสมผสานภูมิปัญญาตะวันตก + ตะวันออก

ทิศทางงานอนามัยสิ่งแวดล้อม เปลี่ยนจากแก้ปัญหา ไปสู่การชี้นำและจัดการสังคม มองอนาคต ผ่าน EIA , HIA IT ไปเร็ว ใช้ให้เกิดประโยชน์ การเพิ่มขีดความสามารถองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การสร้างการมีส่วนร่วม

งานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ WHO กำหนด 17 เรื่อง นโยบายอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health Policy) การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health Management) คุณภาพความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Quality & Safety) การป้องกันอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ (Accidents & Injury Prevention) การสุขาภิบาล (Sanitation) คุณภาพน้ำบริโภค (Drinking Water Quality) การจัดการของเสียและมลพิษทางดิน (Waste Management & Soil Pollution) การควบคุมมลพิษทางเสียง (Noise Control) การอาชีวอนามัย (Occupational Health) การควบคุมสัตว์และแมลงนำโรค (Vector Control) คุณภาพอากาศ (Air Quality) รังสีที่แตกตัว และ รังสีที่ไม่แตกตัว (Ionizing & Non-ionizing Radiation) การวางแผนการใช้ที่ดิน (Land-use Planning) การจัดการด้านการขนส่ง (Transport Management) การท่องเที่ยว & พักผ่อนหย่อนใจ (Tourism & Recreational Activities) นิเวศวิทยาและการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ (Human Ecology and Settlements) พลังงาน (Energy)

การผลิตภาค การเกษตรกรรม ทำลาย กระทรวงเกษตร (พรบ.วัตถุอันตรา/ พรบ.ฆ่าจำหน่ายเนื้อสัตว์ / พรบ.โรคระบาดสัตว์) ผลกระทบต่อคุณภาพ สวล. -ที่ดิน -แร่ธาติ -แม่น้ำ ลำคลอง -ป่าไม้ -พลังงาน -อากาศ -สัตว์ป่า -ฯลฯ ทรัพยากรธรรมชาติ กระทรวงทรัพยากรฯ(พรบ.สวล.) -มาตรฐานสิ่งแวดล้อม -มาตรฐานโรงฆ่าสัตว์/ที่พัก/ การผลิตภาค การเกษตรกรรม การผลิตภาค อุตสาหกรรม ธุรกิจภาคบริการ กิจการ SME. กิจการในชุมชน -มลพิษทางน้ำ -อากาศเสีย -มาตรฐานสิ่งแวดล้อม -เขตอนุรักษ์/ควบคุมมลพิษ การเพาะปลูก การปศุสัตว์ I -มาตรฐานสารเคมีอันตราย สภาพ แวดล้อมในการทำงาน -มลพิษทางน้ำ -อากาศเสีย -กากของเสีย –สิ่งปฏิกูลมูลฝอย ฝุ่น ละออง เสียง แสง รังสี ความร้อน ความสั่นสะเทือน ฯลฯ -สารเคมีกำจัดศัตรูพืช -ปุ๋ยเคมี /ปุ๋ยชีวภาพ -น้ำเสีย / มูลสัตว์ -สัตว์พาหะนำโรค กระทรวงอุตสาหกรรม (พรบ.โรงงงาน -มาตรฐานน้ำ/อากาศเสีย กระทรวงมหาดไทย (พรบ.อาคาร / พรบ.ผังเมือง / พรบ.รักษาฯ / -สวัสดิการ/สภาพแวดล้อมในการทำงาน กระทรวงแรงงาน (พรบ.คุ้มครองแรงงาน) สภาพแวดล้อมของชุมชน / บริเวณที่หรือทางสาธารณะ สุขภาพ ประชาชน การจราจร หาบเร่/แผงลอย อปท. การสร้างอาคาร ตลาด/ร้านอาหาร กระทรวงสาธารณสุข (พรบ.สธ. /พรบ.อาหาร/ พรบ.โรคติดต่อ พรบ.สถานพยาบาล) อปท. กรมขนส่งทางบก / สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (พรบ.ขนส่งฯ / จราจร) โรงเรียน โรงพยาบาล กิจการอื่นๆ

งานอนามัยสิ่งแวดล้อม 17 เรื่อง บทบาทของภาคีในขอบเขตงานอนามัยสิ่งแวดล้อม Positioning ของกรมอนามัย Developer Facilitator Coordinator งานอนามัยสิ่งแวดล้อม 17 เรื่อง งานตาม กม.สธ. งานนอก เหนือ กม. งานตาม กม.สวล.อื่นๆ 3 กรณีปัญหาที่เกิดขึ้นในอนาคต สร้างองค์ความรู้ กลไก พรบ.สธ. Supportive Env. For H. กลไก HIA. อปท. + สสจ.(ภูมิภาค) ภาคี (กระทรวงอื่น) จัดการให้ชุมชน / เมือง / ประชาชน อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพดี 1 2 ใช้ พรบ.สธ.เป็นเครื่องมือ ชี้แนะ นำเสนอ

หนทางสู่..เมืองน่าอยู่ การทำ… “เมืองน่าอยู่” คือ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน สร้างความมั่นคงและสภาพแวดล้อมที่ดี ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน มุ่งให้เกิดบูรณาการ เกิดความสมดุลในทุกด้านและนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

สุขภาพกับเมืองน่าอยู่ แนวคิด เป็นการพัฒนารูปแบบสุขภาพเชิงบวก (Positive Model of Health) เป็นการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพ(Ecological Model of Health) กลยุทธ์ มุ่งเน้นที่กระบวนการ(Focus on Process) สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ(Healthy Public Policy) สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน(Community Empowerment)

“การพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อม” การพัฒนาที่ยั่งยืนเริ่มที่คน ต้องร่วมคิด ร่วมทำ การพัฒนาที่ยั่งยืนเริ่มที่คน

ผลสัมฤทธิ์ คน กระบวนการ ผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์

เกณฑ์ด้านกระบวนการ 5 ข้อ อ.ป.ท. มีนโยบายและแผนดำเนินงานเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ จ.น.ท. ผู้รับผิดชอบงานด้านสุขภาพได้รับการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ หรือกฎหมายสาธารณสุข ภาคีเครือข่าย หรือผู้นำชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือการศึกษาดูงาน มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านสุขภาพ

เกณฑ์ด้านผลสัมฤทธิ์ ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ 1) ตลาดสดประเภทที่ 1 ได้มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ 70% 2) ร้านอาหารและแผงลอยได้มาตรฐาน CFGT 70% 3) ระบบประปาในชุมชนได้มาตรฐานประปาดื่มได้ 100% การจัดการของเสียชุมชน 4) มูลฝอยทั่วไป มีระบบจัดการตามลักสุขาภิบาล 5) รถดูดส้วมมีการควบคุม มีระบบขนถ่ายและกำจัดที่ถูก สุขลักษณะ 6) ส้วมสาธารณะใน วัด ปั๊มน้ำมัน ร.พ. โรงเรียน ได้มาตรฐาน HAS

เกณฑ์ด้านผลสัมฤทธิ์ การคุ้มครองสุขภาพด้วยมาตรการกฎหมายสาธารณสุข 7) มีการออกเทศบัญญัติ /ข้อบัญญัติ อ.บ.ต. อย่างน้อย 2 เรื่อง 8) มีระบบการจัดการเหตุรำคาญ และหากมีเหตุรำคาญ สามารถแก้ไขได้มากกว่า 60% ของเรื่องทั้งหมด