การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระสำคัญของการสัมมนา
Advertisements

ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
การเตรียมการเพื่อการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
กลุ่ม 2 กำหนดมาตรฐานยา รพ.ทบ..
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
นโยบายจ่ายค่าตอบแทนพิเศษระบบใหม่ Pay for Performance ( P4 P )
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
สรุปการประชุม เขต 10.
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
สำนัก เลขา. ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนตุลาคม 2548.
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
Point of care management Blood glucose meter
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
การประกันคุณภาพ ระดับสถาบันอุดมศึกษา. สมาชิก นพ. พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ (ผู้จัดการ) อ. สุภัทรา โกไศยกานนท์ (รองผู้จัดการ) ผศ. ดร. สุรสิทธิ์ วชิรขจร (รองผู้จัดการ)
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หลักธรรมาภิบาลใน WP นพ. ฑิฆัมพร จ่างจิต ผอก. รพ. พาน.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
บทที่1 การบริหารการผลิต
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน

ขั้นเตรียมการ ถ่ายทอดนโยบาย - ผอก. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการแกนนำ ถ่ายทอดนโยบาย - ผอก. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการแกนนำ การประชุมประจำเดือนของเจ้าหน้าที่

การวางแผนงบประมาณ ประมาณการรายรับ - รายรับต่อปี (UC) ประมาณการรายจ่าย - แผนการใช้เงินประจำปี กำหนดวงเงินที่จะจ่ายเป็นWP

กำหนดผู้รับผิดชอบ คณะกรรมการแกนนำ ผู้ประสานงานโครงการ (QMR) Key man ของแต่ละกลุ่มงาน/ฝ่าย – ระยะแรก Young Turks - ปัจจุบัน ผู้ประสานงานโครงการ (QMR) เป็นเลขาฯของคณะกรรมการแกนนำ เป็นประธานของกรรมการตรวจสอบ คกก. ตรวจสอบแต้มผลงาน(ระดับปฏิบัติ) ~ 20 คน พี่เลี้ยงของแต่ละสายวิชาชีพ/งาน - แกนนำ

การคิดค่าคะแนนผลงาน รวบรวมภาระงาน กำหนดแต้มคะแนนผลงาน ปรับปรุงให้มีความชัดเจน นับได้ ชื่อกิจกรรม หน่วยนับ แต้มที่ได้ กำหนดแต้มคะแนนผลงาน ระยะแรกโดยทีมแกนนำ (พี่เลี้ยงประจำสาย)  คณะกรรมการแกนนำพิจารณาเห็นชอบ ปัจจุบัน เจ้าของงานกำหนดเอง  คณะกรรมการแกนนำพิจารณาเห็นชอบ ให้แกนนำเป็นผู้พิจารณาเห็นชอบเป็นความพยายามให้มาตรฐานกลางของแต้มใกล้เคียงกัน

การประเมินผล ทดลองเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เปรียบเทียบตามบริบทของแต่ละคน วิชาชีพเดียวกัน - IPD, OPD ,สภาพการทำงานจริง-งานที่ได้รับมอบหมาย ระหว่างวิชาชีพ TN , จพง. , ทันตาภิบาล RN,นักกายภาพ,นักเทคนิคฯ แพทย์, ทันตแพทย์ ปรับแต้มคะแนนให้เหมาะสม

การจัดเก็บข้อมูล เจ้าหน้าที่ทุกคนต้องเก็บข้อมูลผลงานของตนเอง ทุกคนต้องเก็บแต้ม ยกเว้น หัวหน้าฝ่าย จะเก็บ หรือ จะรับแต่เงินเหมา (ค่าบริหาร) ก็ได้ เจ้าหน้าที่ที่เจ็บป่วย ทำงานได้ไม่เต็มร้อย การเก็บข้อมูลผลงาน เก็บเป็นรายบุคคล เก็บเป็นทีม มอบหมายให้มีคนคิดแต้มรวบรวมผลงานประจำหน่วยงาน

การจัดเก็บข้อมูล การรวบรวมข้อมูล กฎ กติกา มารยาท ผู้ประสานงานโครงการ เป็นผู้รวบรวมข้อมูลทั้งหมดของทุกหน่วยงานส่งให้การเงิน กฎ กติกา มารยาท ส่งภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป ช้า 1 วัน ( ส่งวันที่หก) หัก 10% ช้า 2 วัน ( ส่งวันที่เจ็ด) หัก 50% ช้า 3 วัน ( ส่งวันที่แปด) หัก 100%

การดูแลเจ้าหน้าที่ ที่ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ประกันขั้นต่ำ เก็บข้อมูลไม่ครบ ? หางานเพิ่ม – มีคนกลางเจรจา (FA-HRD) เพิ่มแต้ม (ทางเลือกสุดท้าย)

การตรวจสอบ Quick scan โดยผู้ประสานโครงการฯก่อนส่งการเงิน ตรวจโดยคณะกรรมการตรวจแต้มฯ ตรวจย้อนหลัง เก็บเกินเรียกเงินคืน กรรมการตรวจ 1 ทีม มี 3-4 คน 1 ทีมตรวจประมาณ 5 หน่วยงาน Rotate ทีมทุก 3 เดือน

การมีส่วนร่วม เจ้าของงานกรรมการตรวจกรรมการแกนนำ ประชาสัมพันธ์ทางIntranet ของโรงพยาบาล มีเวบบอร์ด ถาม-ตอบปัญหา Work Point ใน Intranet มหกรรมครบรอบ 5 ปี Work Point สิ่งดีๆที่เกิดขึ้นจากระบบ WP ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (คนละ1ประโยค) มหกรรมคุณภาพจาก Work Point สู่ SHA (6ปีWP) เรื่องเล่าประสบการณ์ที่ใช้WPมาคิดงานใหม่ๆ (Creative งาน) ของทุกคน

การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะของเจ้าหน้าที่ การเพิ่ม10% สำหรับงานที่เป็นวิชาชีพ การเพิ่ม 10% สำหรับงานนอกเวลา OT เพิ่ม 20% แต้มเพิ่ม 20% การพิจารณาค่าบริหารสำหรับหัวหน้างาน (งานที่เกิดใหม่, งานเล็กๆ) การใช้ IT เช่น เวบบอร์ด ในIntranet

การประเมินผลโครงการทั้งหมด ผู้รับบริการ ความพึงพอใจ องค์กร ผลประกอบการ (การเงิน , ผลงาน, นวัตกรรม,รางวัลที่ได้รับ) เจ้าหน้าที่ ผลประกอบการ ความเครียด, คุณภาพชีวิต , บรรยากาศการทำงาน การเข้าร่วมกับกิจกรรมพิเศษของโรงพยาบาล

การจ่ายค่าตอบแทนเชิงคุณภาพ แกนนำ - กำหนดเกณฑ์ วงเงินที่จะจ่าย ตัวชี้วัดคุณภาพในการจ่ายค่าตอบแทนมีอะไรบ้าง สัดส่วนค่าตอบแทนที่จะจ่ายเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของQPทั้งหมด วงเงินตามข้อสรุป(สัดส่วน)นั้นเท่ากับเท่าไหร่ ค่าน้ำหนักของKPIแต่ละตัว คณะทำงาน คิดรายละเอียดค่าตอบแทนตามเกณฑ์ที่แกนนำกำหนดออกมาเป็นค่าตอบแทนของแต่ละคน

เปรียบเทียบแต้มผลงานในแต่ละเดือน ของเจ้าหน้าที่ทั้งหมด

ผลสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการ 20

การประเมินบรรยากาศในการทำงานของบุคลากร รพ. พาน (ร้อยละผู้ที่พึงพอใจ)

ผลการประเมินความเครียด

เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ จำนวนแบบสอบถามทั้งหมด 122

การแบ่งระดับคะแนนคุณภาพชีวิตตามองค์ประกอบต่างๆ