การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑ วิจารณ์ พานิช บรรยายในกำหนดการประชุมวิชาการ ครั้งที่ ๖ สมาคมเครือข่ายพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (ควอท.) ประจำปี ๒๕๕๔ “เรื่องการศึกษามุ่งผลลัพธ์: ก้าวสู่บัณฑิตคุณภาพในศตวรรษที่ 21” วันที่ ๒๙ ก.ค. ๕๔
ความหมายของ “ศตวรรษที่ ๒๑” โลกเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้นๆๆ และไม่แน่นอน ความรู้เปลี่ยนชุด งอกเร็ว สารสนเทศเพิ่มแบบระเบิด คนถูกกระแสรอบทิศ วัตถุมากล้น จิตวิญญาณจาง โลกถึงกันหมด คนเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน งานเปลี่ยน
การศึกษาที่มีคุณภาพ ศตวรรษที่ ๒๐, ๑๙ ศตวรรษที่ ๒๑ Teaching Teach content Teacher Content-Based Classroom Lecture Teaching – personal Sequential learning Assessment : P - F Learning Inspire Coach, Facilitator Skills – Based Studio PBL PLC Integrated learning Assessment : Reform 3
คุณภาพของระบบการเรียนรู้ ต้องไปให้ถึง 21st Century Skills Transformative Learning (จาก informative & formative) มี Change Agent Skills, Leadership ความเป็นพลเมือง
21st Century Student Outcomes & Support Systems Learning & Innovation Skills Core Subjects & 21st Century Themes Life & Career Skills Information, Media, & Technology Skills Standards & Assessments Curriculum & Instruction Professional Development Learning Environment http://gotoknow.org/blog/thaikm/tag/21st Century Skills
+ 2L 3Rs + 7Cs Reading, ‘Riting, ‘Rithmetics Critical thinking & problem solving Creativity & innovation Collaboration, teamwork & leadership Cross-cultural understanding Communication, information & media literacy ( 2 – 3 ภาษา) Computing & media literacy Career & learning self-reliance Change Learning Leadership
ทักษะที่ต้องการได้แก่ Learning Skills Critical Thinking, Leadership Skills Complex Problem-Solving, Innovation Collaboration & Competition, Sharing Skills Personal Mastery Empathy Communication (รวม Listening) Life Skills, Intercultural Skills Etc.
“อ่านออกเขียนได้” (Literacy) ตีความใหม่ Media Literacy Communication Literacy Team Literacy, Social Literacy Networking Literacy Environment / Earth Literacy STEM Literacy Aesthetics Literacy Civic Literacy Etc. รู้ ใช้ในชีวิตประจำวัน รู้เท่าทัน
Maslow's hierarchy of needs
บันได ๖ ขั้นของการพัฒนาคุณธรรม ขั้นที่ ๑ ปฏิบัติเพราะความกลัว ไม่อยากเดือดร้อน ขั้นที่ ๒ ปฏิบัติเพราะอยากได้รางวัล ขั้นที่ ๓ ปฏิบัติเพราะอยากเอาใจคนบางคน ขั้นที่ ๔ ปฏิบัติเพราะต้องปฏิบัติตามกฎ ขั้นที่ ๕ ปฏิบัติเพราะต้องการให้ตนดูดี ให้ได้ชื่อว่าเป็นคนดี ให้ได้ชื่อว่ามีน้ำใจ ขั้นที่ ๖ ปฏิบัติตามหลักการ หรืออุดมการณ์ของตน ไม่ต้องการให้มีคนยกย่องชมเชยหรือให้รางวัล Lawrence Kohlberg's stages of moral development
21st Century Learning Teach less, Learn more Beyond subject matters Student-directed Learning Collaborative (> Competitive) Team (>Individual) Learning New paradigm of evaluation : beyond standard, evaluate team, open (not secret) approach
Table III-1. Levels of learning Objectives Outcome Informative Information Skills Experts Formative Socialization Values Professionals Transformative Leadership attributes Change agents Table III-1. Levels of learning From L Chen
วิธีจัดการเรียนรู้ 21st Century Skills ใช้ PBL Team Learning Studio-Type Room นำเสนอต่อเพื่อนร่วมชั้น และ.... ครู/อาจารย์ เป็น โค้ช facilitator พ่อแม่ คนในชุมชน / ในระบบบริการสุขภาพ
การเรียนการสอน Civic Education และ Service Learning ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ “พลเมือง” กับความรับผิดชอบต่อสังคม และ “การเรียนโดยบริการสังคม” นำเสนอต่อคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) วันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๔ โดย ผศ. ดร. ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป ม. ธรรมศาสตร์ รศ. ดร. ปริญญา เทวานฤมิตรกุล วิชาพลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม (Civic Education) ๓ หน่วยกิต ๑๖ คาบ x ๓ ชม. กลุ่มคละคณะ ครั้งที่ ๑ ปัญหาของประเทศไทย ครั้งที่ ๒ เราทุกคนเป็นทั้งปัญหาและสาเหตุ แก้ที่ตัวเอง คิดโครงการ ครั้งต่อๆ ไปเป็น “ปฏิบัติการพลเมือง” (Service Learning) ลงพื้นที่ ดำเนินการแก้ไข ประเมินผล นำเสนอต่อเพื่อนในชั้น
วิชาพลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม ใช้การเรียนรู้แบบ PBL ได้ 21st Century Skills ได้รู้จักบ้านเมือง สังคม ชุมชน ด้วยตนเอง เป็นกิจกรรมใน ๑ มหาฯ ๑ จังหวัด ได้ (Service Learning) เป็นรูปธรรมของ ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๑
นศ. เรียนด้วย PBL ในภาคชีวิตจริง ความเป็นพลเมือง Team Learning เป็น COP เฉพาะกิจ ทำงาน/โครงการกับ real sector ตั้งเป้าหมาย - BAR ลงมือดำเนินการร่วมกัน ลปรร. ระหว่างดำเนินการ – AAR Reflection (AAR) ตีความด้วยแนวคิดของความเป็นพลเมือง เข้าไปเรียนรู้ปัญหาของสังคม ให้เห็นว่าทุกคนเป็นสาเหตุ และมีโอกาสแก้ไข จิตสาธารณะ
นศ. เรียนด้วย PBL ในภาคชีวิตจริง Team Learning เป็น COP เฉพาะกิจ ทำงาน/โครงการกับ real sector ตั้งเป้าหมาย - BAR ลงมือดำเนินการร่วมกัน ลปรร. ระหว่างดำเนินการ – AAR Reflection (AAR ตีความด้วยทฤษฎี) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในมิติที่ลึกและเชื่อมโยง รายงานผลต่อที่ประชุม… / เขียนรายงานผลการวิจัย
21st Century Learning Assessment ๓ เปลี่ยน จากข้อสอบเป็นความลับ เป็นเปิดเผย จากสอบเป็นคนๆ เป็นสอบเป็นทีม จากถูก-ผิด เป็นสอบความคิด
ต้องช่วยครู/อาจารย์ ครูยากลำบากกว่าศิษย์ เพราะครูต้อง unlearn/delearn & relearn ครูต้องเรียนรู้ทักษะการเป็นครู ช่วยด้วย PLC (Professional Learning Community) ไม่ใช่ Training ครู/อาจารย์ ใช้ KM / CoP เรียนรู้ทักษะการเป็นครู/อาจารย์ ทุกวัน
ทักษะการเป็นครู ทักษะการวินิจฉัยทำความรู้จัก ทำความเข้าใจศิษย์ ทักษะการออกแบบการเรียนรู้ ออกแบบ PBL ทักษะการชวนศิษย์ทำ reflection / AAR ทักษะการเรียนรู้ และสร้างความรู้ใหม่ จากการทำหน้าที่ครู ทักษะการ ลปรร. ใน PLC
ส่งเสริมอาจารย์ ด้วย PLC เสริมด้วย Training การวิจัยการเรียนรู้ วิชาการสายการเรียนรู้ เพื่อการเป็นบัณฑิตเพื่อสังคม ตีพิมพ์ใน PLOT Learning ICT System supporting PLC Annual Conference การจัดการเรียนรู้บัณฑิตเพื่อสังคม ในศตวรรษที่ ๒๑ รางวัล อาจารย์นักจัดการเรียนรู้....
สรุป การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑ ทั้งศิษย์และอาจารย์ เป็น “นักเรียน” เรียนจาก ปฏิบัติ ปฏิเวธ ปริยัติ ๔๐:๓๐:๓๐ เรียน Affective, Cognitive, Psychomotor Domains พร้อมๆ กัน แบบบูรณาการ เน้นทักษะ ศิษย์ใช้ PBL+ อาจารย์ใช้ PLC+ เรียนจากการฝึกฝน (ไม่ใช่ท่องบ่น)