33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 15

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การพัฒนาระบบบริหารภาครัฐที่มีธรรมาภิบาล เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับ “กิจการสาธารณะ (Public Affairs)” และพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์ก็คืองานบริหารงานภาครัฐใดๆ ที่ต้องคำนึงถึง.
ขอบข่ายของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ โดย นางสาวยศธิดา ขันแก้ว
ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
ขอบเขตของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 12
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 11
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 10
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 13
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การบริหารจัดการท้องถิ่น
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
Good Corporate Governance
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
การจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
คุณลักษณะของสังคมไทยที่ พึงปรารถนา ต้องเป็นสังคมที่ผาสุกและเป็นธรรม ต้องเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย มีเหตุผล เคารพในกติกาของสังคม ต้องเป็นสังคมที่พึ่งพาตนเองได้
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
หลักนิติธรรมในระบอบประชาธิปไตย กับการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 15 ทิศทางและแนวโน้มรัฐประศาสนศาสตร์ รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1

ตัวแบบทางเลือกหรือวิสัยทัศน์ใหม่ของการจัดการบริหารปกครองบ้านเมือง 1. ตัวแบบระบบตลาด (Market Model) - ลดขนาดและจำกัดบทบาทของภาครัฐ - Privatization - การใช้กลไกตลาด 2. ตัวแบบประชารัฐ (Participatory State) - การมีส่วนร่วมของประชาชน - การรวมกลุ่มเป็นชุมชนประชาคมหรือองค์กรประชาสังคม (Civil Society) และการสร้างเครือข่าย - ลดบทบาทภาครัฐจากการชี้นำและตัดสินใจเอง มาเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ให้ประชาชนเข้าร่วม ในการตัดสินใจ

แนวคิดและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อ NEW PUBLIC MANAGEMENT 1. เศรษฐศาสตร์สำนักนีโอคลาสสิค - ทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ มองว่ารัฐบาลเป็นอุปสรรค ต่อความมีอิสระของปัจเจกบุคคลในการตัดสินใจหรือ กำหนดทางเลือกของตนเอง เสนอให้ลดและจำกัด บทบาทภาครัฐ ใช้กลไกตลาด Charles Wolf Jr. เห็นว่าความล้มเหลวของภาครัฐ มีสาเหตุมาจาก ปัจจัย ดังนี้ ยึดเป้าหมายส่วนตัว > ยึดผลประโยชน์ส่วนรวม ความซ้ำซ้อนและต้นทุนค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น เกิดจากขยายบทบาทภารกิจและขนาดขององค์การ การดำเนินงานภาครัฐบางครั้งส่งส่งผลกระทบทางลบต่อภาคธุรกิจ ชุมชนและประชาชน กระจายทรัพยากรที่ไม่เป็นธรรม เป็นผลมาจากการเลือกใช้ดุลยพินิจ เอื้อประโยชน์ให้คุณให้โทษแก่บางกลุ่ม ทุจริตคอรัปชั่น เสนอให้ลดและจำกัดบทบาทภาครัฐ ใช้กลไกตลาด

แนวคิดและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อ NEW PUBLIC MANAGEMENT 2. เศรษฐศาสตร์สถาบัน (Institutional Economics) - ทฤษฎีผู้ว่าจ้างและตัวแทน โดยมีการกำหนด Contractual Agreement ระหว่างผู้ว่าจ้าง และผู้รับจ้างให้ชัดเจน 3. เศรษฐศาสตร์ต้นทุนและธุรกรรม (Transaction-Cost Economics) - ภาระต้นทุนของฝ่ายผู้ว่าจ้าง - ความเหมาะสมในการ Contract Out

การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) เป็นการบริหารที่เน้นวัตถุประสงค์ หรือ ผลสัมฤทธิ์ทั้งในแง่ของผลผลิต ผลลัพธ์ และความคุ้มค่าของเงิน รวมทั้งการพัฒนา คุณภาพและสร้างความพอใจแก่ผู้รับบริการ โดยนำเอาเทคนิควิธีการบริหารจัดการ สมัยใหม่เข้ามาใช้มากขึ้น

การบริหารการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NEW PUBLIC MANAGEMENT) – JONATHAN BOSTON 1. มองว่าการบริหารงานมีลักษณะที่เป็นสากล ไม่มีความแตกต่างอย่างมี นัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชนและการ บริหารงานของภาครัฐ 2. ปรับเปลี่ยนจาก process accountability มาเน้น accountability for results แทน 3. ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารมากกว่าการที่ให้ความสำคัญต่อ การกำหนดนโยบายแต่เพียงอย่างเดียว 4. ให้ความสำคัญต่อการมอบอำนาจการควบคุมของหน่วยงานกลาง (devolution of centralized power) ไปให้หน่วยงานผู้ปฏิบัติ 5. เน้นปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ให้มีขนาดเล็กลงใน รูปแบบของหน่วยงานอิสระในกำกับ แยกส่วนระหว่างภารกิจงานเชิง พาณิชย์และไม่ใช่เชิงพาณิชย์ออกจากกัน

การบริหารการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) 6. เน้นการแปรสภาพกิจการของรัฐให้เป็นเอกชน (privatization) และให้ มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก (outsourcing) การแข่งขันประมูลงาน (competitive tendering) 7. ปรับเปลี่ยนรูปแบบสัญญาจ้างบุคลากรของภาครัฐให้มีลักษณะเป็นระยะ สั้นและกำหนดเงื่อนไขข้อตกลงให้ชัดเจนสามารถตรวจสอบได้ 8. เลียนแบบวิธีการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชน เช่น การวางแผน กลยุทธ์ performance agreement การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน การจ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานชั่วคราว การพัฒนาระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหารงาน และการสร้าง corporate image 9. สร้างแรงจูงใจและให้รางวัลตอบแทนในรูปของตัวเงิน (monetary incentives) มากขึ้น 10. สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้จ่ายเงินงบประมาณ โดย พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต

แนวคิดประชาธิปไตยแนวทางใหม่ ที่มีอิทธิพลต่อ NEW PUBLIC MANAGEMENT 1. แนวคิดประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Democracy) - มองว่าประชาธิปไตยผ่านตัวแทนมีข้อจำกัดมาก วิธีที่ดี คือ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมโดยตรงจากทุกภาคส่วน - เครื่องมือที่ใช้ คือ การปรึกษาหารือกับประชาชน (consultation) การทำ ประชาพิจารณ์ (public hearing) การจัดเวทีประชุมลานบ้านลานเมือง (town hall meeting) ประชาธิปไตยทางไกล (teledemocracy) 2. แนวคิดชุมชนนิยม (Communitarianism) - เน้นให้ความสำคัญต่อการสร้างศีลธรรม คุณธรรม ความเป็นพลเมืองที่ดี - เน้นการเพิ่มอำนาจ (Empowerment) โดยส่งเสริมให้มารวมกลุ่มกันด้วย ความสมัครใจ เพื่อใช้พลังความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างประโยชน์ ส่วนรวม -ก่อให้เกิดองค์กรอาสาสมัครที่ไม่หวังผลกำไร (NGO)

สรุป 4 กระแสที่มีอิทธิพลต่อ New Public Management 1. แนวคิดเศรษฐศาสตร์สำนักนีโอคลาสสิค (Neo-classic Economics) 2. แนวคิดการจัดการนิยม (Managerialism) 3. แนวคิดรัฐศาสตร์ยุคใหม่ (Participatory State) 4. แนวคิดกฎหมายมหาชน (Rule of Law)

ค่านิยมสำคัญของรัฐประศาสนศาสตร์ปัจจุบัน 1. เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Neo-classic Economics) = Marketization - Efficiency - Value for Money 2. การจัดการนิยม (Managerialism) = Business-like approach - Effectiveness - Quality - Accountability 3. รัฐศาสตร์ยุคใหม่ - Participatory - Transparency - Responsiveness - Decentralization 4. กฎหมายมหาชน - Rule of Law - Fairness - Impartiality

การนำแนวคิดหลัก ของรัฐประศาสนศาสตร์ไปใช้ในการปฏิรูประบบราชการ 1. เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Neo-classic Economics) วัตถุประสงค์ ปรับให้เข้าสู่ระบบตลาดการแข่งขันและ ประสิทธิภาพ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค ทฤษฎีทางเลือก สาธารณะ เศรษฐศาสตร์สถาบันใหม่ ทฤษฎีตัวการและตัวแทน เศรษฐศาสตร์ต้นทุน-ธุรกรรม กลยุทธ์ที่ใช้ - Cutback - Reduction in Force - Corporatization - Privatization - Market Testing - การเปิดให้มีการแข่งขัน - Outsource

การนำแนวคิดหลัก ของรัฐประศาสนศาสตร์ไปใช้ในการปฏิรูประบบราชการ 2. การบริหารจัดการสมัยใหม่ (Managerialism) = Let the manager manage วัตถุประสงค์ ปรับการทำงานให้มีความทันสมัย เน้นการทำงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ เน้นคุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล และความคุ้มค่าของเงิน องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง เทคนิคการบริหารจัดการสมัยใหม่ การบริหารงานแบบมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพโดยรวม กลยุทธ์ที่ใช้ - การให้อิสระและความคล่องตัวในการบริหาร - การแยกส่วนหน่วยงานเชิงพาณิชย์ออกจากที่ไม่ใช่เชิงพาณิชย์ - การจัดตั้งองค์กรบริหารงานในรูปแบบพิเศษ มีหน่วยงานในกำกับ (Agencification) - Performance Agreement - Benchmarking - Service Standard - ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน - การตรวจสอบผลการดำเนินงาน

การนำแนวคิดหลัก ของรัฐประศาสนศาสตร์ไปใช้ในการปฏิรูประบบราชการ 3. แนวคิดประชารัฐและกฎหมายมหาชน วัตถุประสงค์ ความเป็นประชาธิปไตย หลักนิติธรรม สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและเที่ยงธรรม ความถูกต้องยุติธรรม และการไม่เลือก ปฏิบัติ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง ชุมชนนิยม ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ ประชาธิปไตยทางตรง กลยุทธ์ที่ใช้ - การกระจายอำนาจ - การมีส่วนร่วมของประชาชน - ประชาพิจารณ์ - ประชาหารือ - ประชามติ - การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ

ส่ง Paper ที่แก้ไข (ไม่เกิน 31 ตุลาคม 52) รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน ถ.แจ้งวัฒนะ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 drtheppasak@hotmail.com