SMTP.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
นำเสนอ เรื่อง x.25.
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
Script Programming& Internet Programming
แม่ครูชมัยพร โครตโยธา
คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8
Accessing the Internet
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยี 3G. เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G หรือ Third Generation เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 เป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน.
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
รูปแบบและแนวคิดสารสนเทศกับระบบการศึกษา
SECURITY ON THE INTERNET.
(Hypertext Transport Protocol)
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
TelecommunicationAndNetworks
อุปกรณ์ X.25 และระบบโปรโตคอล ขอความกรุณาอย่าสงสัย OK
ARP (Address Resolution Protocol)
Transport Layer.
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
อินเตอร์เน็ต INTERNET.
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ทบทวนความเข้าใจ.
เมนูเรื่องเทคโนโลยี.
What’s P2P.
การใช้งานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่อง ความรู้ไร้พรมแดน
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
อินเทอร์เน็ต Internet
เรื่อง ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
เปิดโลก Download. รู้สักนิดก่อน Download การนำ ข้อมูล จาก อินเทอร์เน็ ตมาไว้ใน เครื่อง การ Download.
วันที่ มกราคม 2555 ณ ห้อง 107 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
13 October 2007
13 October 2007
13 October 2007
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
เรื่อง คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น ครู โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
อินเทอร์เน็ต.
ISP ในประเทศไทย
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
Internet Service Privider
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชื่อกลุ่ม เด็กผู้หญิง จัดทำโดย นางสาว อักษราภัค อุปคำ ม เลขที่ 8 นางสาว อักษราภัค อุปคำ ม เลขที่ 8 นางสาว พัชราพร พวงอินใจ ม เลขที่ 23.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
จัดทำโดย ด. ช. กิตติพงษ์ ตากาศ เลขที่ 7 ม.1/8 ด. ช. สุริยะกูล ทวีสุข เลขที่ 6 ม.1/8.
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
บทที่ 8 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Application Layer.
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การติดต่อด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
ชื่อ นางสาวชื่นฤดี ไชยวงค์ โปรแกรมวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 3 รหัส
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วย ให้การบริการสะดวกขึ้น จัดทำโดย ด. ญ. ชุติกาญจน์ ยี่บุญ เลขที่ 1 ม.1/12 ด. ญ. อาทิตยา มั่นหาญ เลขที่ 13 ม. 1/12.
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการ เชื่อมโยงกันทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ย่อมมีข้อมูลสารสนเทศที่ส่งผ่าน จากผู้ส่ง ไปยัง ผู้รับ และหากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น.
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SMTP

ประจำเซิร์ฟเวอร์ที่ตนเองเป็นสมาชิกอยู่ เซิร์ฟเวอร์ยังทำหน้า อีเมล์เป็นสิ่งที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนเกี่ยวข้องอยู่ อีเมล์เป็นระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพยิ่ง ปัจจุบันมีผู้ใช้อีเมล์บนอินเทอร์เน็ตหลายร้อยล้านคน และในที่สุดทุกคนก็จะเป็นสมาชิกบนระบบอีเมล์และติดต่อสื่อสารถึงกันได้อย่างทั่วถึง ระบบการจัดส่งอีเมล์ประกอบด้วย เซิร์ฟเวอร์ที่เป็นตัวหลัก เซิร์ฟเวอร์ทำหน้าที่เป็นตู้จดหมายให้กับผู้ใช้ ผู้ใช้แอดเดรส ประจำเซิร์ฟเวอร์ที่ตนเองเป็นสมาชิกอยู่ เซิร์ฟเวอร์ยังทำหน้า ที่ที่สำคัญคือ เป็นผู้รับส่งจดหมายระหว่างกันโดยใช้โปรโตคอล ที่ชื่อ SMTP-Simple Mail Transfer Protocol

SMTP(Simple Mail Transfer Protocol) คือ เป็นโปรโตคอล ของ TCP/IP ใช้ในการส่งและรับ E-mail ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ไปยังเครื่องบริการอื่น ๆ ซี่งสามารถส่งเมล์ไปยังผู้ใช้ได้ทั่วโลก และมีโปรโตคอลที่ใช้รับส่งชัดเจน

SMTP มีความจำกัดในด้านแถวคอย (Queue) ของ messageในด้านรับ ตามปกติจะใช้ร่วมกับโปรโตคอลอื่น อีกตัว เช่น POP3 หรือ Internet Message Access Protocol เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเก็บเมล์ไว้ใน server mailbox และดาวน์โหลดจาก server ในอีกความหมาย คือ SMTP ใช้สำหรับการส่งเมล์ของผู้ใช้ และ POP3 หรือ IMAP ใช้สำหรับเมล์แล้ว เก็บไว้ในเครื่องแม่ข่าย โปรแกรม E-mailส่วนใหญ่

ลักษณะการรับส่ง ภายในเซิร์ฟเวอร์นี้จะมีโปรแกรมที่ทำงานตลอดเวลา ทำหน้าที่รับส่งจดหมาย เรียกว่า mail reciever and sender การรับโปรแกรมนี้ จะทำเป็นโปรแกรมแบบแบ็กกราวด์ที่ทำงาน ในลักษณะเดมอนโปรแกรม กล่าวคือ เมื่อมีจดหมายจากเครื่องอื่น ติดต่อเข้ามามันจะรับและจัดเก็บไว้ในที่ ๆ ถูกต้อง ทำนองเดียวกัน ถ้ามีการส่งออก มันก็จะติดต่อออก ไป รูปแบบการรับส่งใช้โปรโตคอล SMTP

ระบบรับส่งจดหมายยังมีการเชื่อมโยงกันผ่านตัวกลาง ที่เรียกว่า เมล์เอ็กซ์เชนจ์ (mail exchange) ระบบเมล์เอ็กซ์เชนจ์เป็นตัวกลางที่ รับส่งจดหมายให้อีก เช่น ในองค์กรหนึ่งมีเมล์เซอร์ฟเวอร์ หลายเครื่อง บางเครื่องไม่ได้เปิดตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้น การ ดำเนินการบางอย่าง จึงต้องส่งมายังเมล์เอ็กซ์เชนจ์ เพื่อรอการรับส่ง

SMTP ส่วนใหญ่จะไม่ยอมให้คนนอกองค์กร หรือ IP ที่อยู่นอกองค์กรใช้งาน SMTP เป็นการเสี่ยงต่อการถูกโจมตีจาก Hacker หรือ Spam Mail

การนำไปประยุกต์ใช้ พัฒนา SMTP ให้เป็นโปรโตคอลที่ใช้ในการส่งและรับ E-mail ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตอย่างมีประสิทธิภาพ ให้เป็นที่นิยมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ยังต้องมีการพัฒนาระบบป้องกัน Worm, Virus และ Spam Mail อย่างดี เพื่อจะได้ไม่เกิดปัญหาในการใช้งานของคอมพิวเตอร์ และเพิ่มลูกเล่นในการใช้งาน SMTP เพื่อสนองความต้องของผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังสามารถใช้ SMTP ทำธุรกรรมผ่านทางอินเตอร์เน็ตได้สะดวกสบายยิ่งขึ้นจากในอดีตที่มีขั้นตอนทียุ่งยากซับซ้อนใช้เวลานานทำให้ผู้ที่ไม่เคยใช้ ยากแก่การที่จะเข้าใจ ในปัจจุบันเวลาถือว่าเป็นสิ่งมีค่าที่ใช้ไปแล้วไม่สามารถนำกลับคืนมาได้ ดังนั้นการรับส่งข่าวสารที่รวดเร็วจึงเป็นหนทางที่ทำให้รับรู้ข่าวสารได้ภายในเวลาที่รวดเร็วแม้จะอยู่ห่างไกลกันก็ตาม ดังนั้น SMTP ดังที่กล่าวไปข้างต้นจึงเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้มนุษย์ทุกคนใช้ชีวิตได้อย่างสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น

จัดทำโดย กลุ่มที่ 48 1. น.ส.ทิพนาถ พระนคร B4970361