Thai National Drug Code THINK meeting 3 September 2010 Boonchai Kijsanation MD.,PhD. Ministry of Public Health
Information Sources Heavily drawn from these presentations
Why we need codes? To get to the same meaning of concepts (entities, things etc) Semantic standard = Meaning standard Sharing information Machine (Computer) understandable
Why Health Data Standards? Interoperability Semantic Interoperability Syntactic Interoperability
Interoperability needs STANDARDs Semantics standards Coding : ICDs, National Drug Codes Medical Terminology: SNOMED-CT, LOINC Syntactic standards : HL7 messaging standards, HL7-CDA (Clinical Document Architecture) Core data sets standards Security and Privacy standards
International Drug Codes AHFS Pharmacologic-Therapeutic Classification 2008 BNF -British National Formulary ATC -The anatomical therapeutic chemical classification system US National Drug Codes, US RxNorm(NLM) IOWA Drug Code Dictionary of Medicines and Devices (dm+d)
NHS Dictionary of Medicines & Devices dm+d
รหัสมาตรฐานด้านยา: ประวัติความเป็นมา มีความพยายามจัดทำรหัสยามาตรฐาน โดยกระทรวงสาธารณสุขมา ตั้งแต่ก่อนปี พ.ศ. 2529 เพื่อใช้เป็นรหัสกลางสำหรับโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโดยกำหนดรหัสตามชื่อทั่วไปของยา (Generic name) ซึ่งในตอนนั้นเริ่มที่ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ แต่ไม่ได้ถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลาย เนื่องจาก ไม่ครอบคลุมยาทุกรายการในบัญชียาหลักแห่งชาติ ไม่ได้จัดทำรหัสยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ มีการปรับปรุงบัญชียาหลักแห่งชาติ แต่ไม่ได้จัดทำรหัสยาเพิ่ม รหัสที่จัดทำเป็นเพียงรหัสของตัวยาเท่านั้น ไม่มีการกำหนดรหัสความแรงหรือรูปแบบด้วย
สถานการณ์รหัสยาของประเทศไทย รหัสยาขององค์การเภสัชกรรม รหัสยาของกรมบัญชีกลาง (ระบบสวัสดิการข้าราชการ) รหัสยาของกรมบัญชีกลาง (ระบบ GFMIS) รหัสยาของกรมศุลกากร รหัสยาของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รหัสยาที่กำหนดเองของแต่ละหน่วยบริการ (Local code) รหัสยาของคณะทำงานจัดทำรหัสมาตรฐานข้อมูลและชุดโครงสร้างข้อมูลของยาฯ กระทรวงสาธารณสุข 2551 (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ + อย. + สนย.) สปสช. สนับสนุน
แนวคิดในการกำหนดรหัสมาตรฐานด้านยา ของคณะทำงานจัดทำรหัสมาตรฐานข้อมูลและชุดโครงสร้างข้อมูลของยาฯ ต้องมีความยืดหยุ่นที่สามารถนำไปใช้งานในระบบต่างๆได้ ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ที่มีการขึ้นทะเบียนตำรับยาในประเทศไทย ยืดหยุ่นให้หน่วยงานต่างๆสามารถใช้รหัสเดิมของตัวเองได้ถ้าต้องการ
การออกแบบชุดโครงสร้างรหัสมาตรฐานด้านยา โครงสร้างของรหัส ประกอบด้วย 5 ส่วน (24 หลัก) คือ 1. รหัสประเภทยา 1 หลัก 2. รหัสตัวยา 10 หลัก 3. รหัสความแรงของยา 5 หลัก 4. รหัสรูปแบบของยา 3 หลัก 5. รหัสเจ้าทะเบียนยา(ผู้ผลิต/ผู้นำเข้า) 5 หลัก
ตัวอย่างรหัสมาตรฐานยา 24 หลัก PARACETAMOL 500 mg TABLET องค์การเภสัชกรรม 1 0075200000 44931 203 81506 รูปแบบ ยาเม็ดรับประทาน ประเภท ยาเดี่ยว ชื่อยา พาราเซตามอล เจ้าของผลิตภัณฑ์ องค์การเภสัชกรรม ความแรง 500 mg
ข้อดี เป็นรหัสที่มีการออกแบบครอบคลุมรายละเอียดที่ต้องใช้ในการทำข้อมูล เชิงสถิติของยาได้ สามารถเลือกใช้ตามความละเอียดที่ต้องการ โดยไม่จำเป็นต้องใช้รหัสทั้งหมด รองรับการใช้ทั้งกรณีที่เป็นยาเดี่ยวและยาผสม สามารถปรับปรุงรหัสให้ทันสมัยอยู่เสมอ เนื่องจากมีการดักเก็บข้อมูลตั้งแต่ตอนขึ้นทะเบียนยาที่ อย. ข้อจำกัด เหมาะสมสำหรับยาที่จำหน่ายในประเทศไทยเท่านั้น ยังไม่สามารถใช้ในระดับสากลได้ หลักเกณฑ์ในการกำหนดรหัสยาเดี่ยวและยาผสมใช้มาตรฐานที่ต่างกัน ทำให้ต้องดูแลทั้ง 2 ระบบไปพร้อมกัน ไม่มีรายละเอียดทางด้านเภสัชวิทยา เนื่องจากจัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลเป็นหลัก ยาตัวเดียวกัน ที่ใช้ชื่อการค้าต่างกัน แต่ผลิตโดยผู้ผลิตรายเดียวกัน จะได้รหัสเดียวกัน