สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการ สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความเสียเปรียบเชิงเศรษฐกิจ ไม่สามารถเข้าถึงบริการ/โอกาสต่างๆ
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (THINK)
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
กรอบการนำเสนอ สถานการณ์ด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
กลุ่มเศรษฐกิจ ภาวการงาน ( มีการจ้างงาน ไร้อาชีพ เป็นทหาร ) อาชีพ
การมีภาวะเจริญพันธุ์ลดลง
ตารางชีพ Life Tables ตารางตัวเลข แสดงอายุขัยเฉลี่ยและโอกาสที่จะตายในแต่ละ อายุขัยของประชากรกลุ่มหนึ่ง แบ่งเป็น 1. สำหรับช่วงอายุหนึ่งของคน General.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการสำรวจ การเปลี่ยนแปลงประชากร
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร
ผู้สูงอายุไทย : ปัจจุบันและอนาคต
สิทธิของข้าราชการทหาร
1.
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
กองทุนประกันสังคมคือ...
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
สถานการณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 7 จังหวัดภาคใต้
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
นพ. ทักษพล ธรรมรังสี แผนงานพัฒนาศักยภาพนักวิจัย
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
การแจกแจงปกติ.
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปี 2547 ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ หลัก 8. ระดับ ความสำเร็จของ การจัดทำ ทะเบียนเพื่อ แก้ไขปัญหา.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการ สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร โดย ผศ.ดร.ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ ในสัมมนา สสช.เชิงรุก ตอน “การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ประชากรไทยในรอบ 10 ปี” 5 เมษายน 2550 ณ ห้องกมลทิพย์ โรงแรมสยามซิตี้

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร คืออะไร? ลักษณะของข้อมูลเป็นอย่างไร? ประโยชน์ที่ได้ ทำอย่างไรจึงได้มา? ตัวอย่างผลการวิเคราะห์

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร: คืออะไร? ข้อมูลที่ได้จากการติดตามประชากรตัวอย่างกลุ่มหนึ่ง ต่อเนื่อง เป็นระยะเวลา 1 ปี (ในอดีต เคยติดตาม 2 ปี) ติดตามการเปลี่ยนแปลงของประชากร: เด็กเกิดใหม่เท่าไร? ใครบ้างที่เสียชีวิต? มีใครย้ายเข้า – ออก? บันทึกข้อมูลพื้นฐานของประชากร และครัวเรือน เพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษา การทำงาน จำนวนบุตร เกิดรอด การคุมกำเนิด ลักษณะของที่อยู่อาศัย

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร: คืออะไร? (ต่อ) มีข้อมูลที่นอกเหนือจากข้อมูลพื้นฐาน เช่น จดทะเบียนเกิด – ตาย หรือไม่? มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านหลังที่อาศัยอยู่ หรือไม่? ตายที่ไหน? ด้วยสาเหตุอะไร?

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร : ลักษณะของข้อมูลเป็นอย่างไร? ก.ค. คนที่ 1อยู่ คนที่ 2 (ตั้งครรภ์) อยู่ คนที่ 3อยู่ คนที่ 4อยู่

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ก.ค. คนที่ 1อยู่ คนที่ 2 (ตั้งครรภ์) อยู่ คนที่ 3อยู่ คนที่ 4อยู่ ต.ค. อยู่ ออก อยู่ ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร : ลักษณะของข้อมูลเป็นอย่างไร?

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ก.ค. คนที่ 1อยู่ คนที่ 2 (ตั้งครรภ์) อยู่ คนที่ 3อยู่ คนที่ 4อยู่ คนที่ 5 ต.ค. อยู่ ออก อยู่ ม.ค. อยู่ ออก อยู่ เกิด ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร : ลักษณะของข้อมูลเป็นอย่างไร?

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ก.ค. คนที่ 1อยู่ คนที่ 2 (ตั้งครรภ์) อยู่ คนที่ 3อยู่ คนที่ 4อยู่ คนที่ 5 คนที่ 6 ต.ค. อยู่ ออก อยู่ ม.ค. อยู่ ออก อยู่ เกิด เม.ย. ตาย อยู่ ออก อยู่ เข้า ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร : ลักษณะของข้อมูลเป็นอย่างไร?

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ก.ค. คนที่ 1อยู่ คนที่ 2 (ตั้งครรภ์) อยู่ คนที่ 3อยู่ คนที่ 4อยู่ คนที่ 5 คนที่ 6 ต.ค. อยู่ ออก อยู่ ม.ค. อยู่ ออก อยู่ เกิด เม.ย. ตาย อยู่ ออก อยู่ เข้า ก.ค. ตาย อยู่ ออก อยู่ ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร : ลักษณะของข้อมูลเป็นอย่างไร?

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร : ประโยชน์ที่ได้? คำนวณมาตรวัดทางประชากร ****(ทางตรง): มาตรวัดภาวะเจริญพันธุ์ มาตรวัดภาวะการตาย มาตรวัดการย้ายถิ่น แฟ็คเตอร์ที่ใช้ปรับความสมบูรณ์ของการจด ทะเบียนเกิด-ตาย **** ประมาณมาตรวัดทางประชากร โดยใช้เทคนิควิธี ทางอ้อม ประโยชน์ในเชิงงานวิจัย ข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับการตั้งข้อสมมุติใน การฉายภาพประชากร

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ข้อมูลจากการสำรวจการเปลี่ยนแปลง ของประชากรนำไปคำนวณมาตรวัด ทางประชากรอะไร? ได้อย่างไร?

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University อัตราเกิด (Crude birth rate: CBR) อัตราเจริญพันธุ์รายอายุ (Age-specific fertility rate: ASFR) อัตราเจริญพันธุ์รวม (Total fertility rate: TFR) อัตราเจริญพันธุ์ทั่วไป (General fertility rate: GFR) อัตราเจริญพันธุ์ทั่วไปของสตรีที่สมรส (General marital fertility rate: GMFR) อัตราสืบทอดพันธุ์รวม (Gross reproductive rate: GRR) อัตราสืบทอดพันธุ์สุทธิ (Net reproductive rate: NRR) มาตรวัดภาวะเจริญพันธุ์ รู้จำนวนเกิด, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนเกิด, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนเกิดจำแนกตามกลุ่มอายุสตรีวัยเจริญพันธุ์, รู้จำนวนเกิดจำแนกตามกลุ่มอายุสตรีวัยเจริญพันธุ์, สตรีวัยเจริญพันธุ์จำแนกตามกลุ่มอายุ สตรีวัยเจริญพันธุ์จำแนกตามกลุ่มอายุ รู้จำนวนเกิด, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนเกิด, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนเกิดจำแนกตามกลุ่มอายุสตรีวัยเจริญพันธุ์, รู้จำนวนเกิดจำแนกตามกลุ่มอายุสตรีวัยเจริญพันธุ์, สตรีวัยเจริญพันธุ์จำแนกตามกลุ่มอายุ สตรีวัยเจริญพันธุ์จำแนกตามกลุ่มอายุ

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University อัตราตาย (Crude death rate: CDR) แสดงภาวะการตายของประชากรในภาพรวม อัตราตายรายอายุ (Age-specific death rate: ASDR) แสดงแบบแผนการตาย อัตราตายทารก (Infant mortality rate: IMR) อัตราตายเด็กต่ำกว่า 5 ปี (Under-five mortality rate: U5MR) มาตรวัดภาวะการตาย รู้จำนวนตาย, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนตาย, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนตายรายอายุ, จำนวนประชากรจำแนกตาม กลุ่มอายุ รู้จำนวนตายรายอายุ, จำนวนประชากรจำแนกตาม กลุ่มอายุ รู้จำนวนตาย, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนตาย, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนตายรายอายุ, จำนวนประชากรจำแนกตาม กลุ่มอายุ รู้จำนวนตายรายอายุ, จำนวนประชากรจำแนกตาม กลุ่มอายุ

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ตารางชีพและฟังก์ชั่นสำคัญจากตารางชีพ สรุปการตายของประชากรกลุ่มหนึ่งออกมาอยู่ในรูปของดัชนีตัวเดียว คือ อายุคาดเฉลี่ย สร้างตามขั้นตอนต่าง ๆ เริ่มจาก อัตราตายรายอายุ อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด อายุคาดเฉลี่ยที่อายุ 60 ปี มาตรวัดภาวะการตาย (ต่อ) รู้จำนวนตายรายอายุ, รู้จำนวนตายรายอายุ, จำนวนประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ จำนวนประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ รู้จำนวนตายรายอายุ, รู้จำนวนตายรายอายุ, จำนวนประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ จำนวนประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University อัตราการย้ายถิ่นเข้า อัตราการย้ายถิ่นออก อัตราการย้ายถิ่นสุทธิ อัตราย้ายถิ่นรวม มาตรวัดการย้ายถิ่น รู้จำนวนคนที่ย้ายเข้า / ออก รู้จำนวนคนที่ย้ายเข้า / ออก รู้จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนคนที่ย้ายเข้า / ออก รู้จำนวนคนที่ย้ายเข้า / ออก รู้จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนประชากรทั้งหมด

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ข้อมูลการ สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร การตาย และรายละเอียดของการตาย

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การกระจายร้อยละของการตายจำแนก ตามกลุ่มอายุและเพศ กลุ่มอายุชายหญิงรวม ต่ำกว่า 15 ปี – 59 ปี ปีขึ้นไป รวม100.0 จำนวน1,100 2,200 แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การกระจายร้อยละของการตายจำแนกตาม สถานที่ตาย แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การกระจายร้อยละของการตายจำแนกตาม สาเหตุของการตาย แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การกระจายร้อยละของการตายจำแนก ตามสถานที่ตายและสาเหตุการตาย สถานที่ตายโรคติด เชื้อ โรคไม่ติด เชื้อ สาเหตุ ภายนอก ไม่ทราบ สาเหตุ สถานพยาบาล บ้าน อื่น ๆ ไม่ทราบ รวม100.0 จำนวน แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การกระจายร้อยละของการตายจำแนก ตามสาเหตุการตายและเพศ แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การกระจายร้อยละของการตายจำแนก ตามสถานที่ตายและเพศ แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ข้อมูลการ สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม สุขภาพ และประชากร

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ความไม่เท่าเทียมกันด้านเศรษฐกิจ สร้างดัชนีแสดงระดับความมั่งคั่งของครัวเรือน ด้วย DiHOPIT model จาก สินทรัพย์ที่มี : ลักษณะที่อยู่อาศัย : แบ่งระดับความมั่งคั่งของครัวเรือนออกเป็น 5 ระดับ (รวยที่สุด รวย ปานกลาง จน จนที่สุด) สมาชิกแต่ละคนในครัวเรือน มีระดับความมั่งคั่งเท่ากัน ดัชนีวัดความไม่เท่าเทียมกัน

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University รายได้เฉลี่ยต่อเดือนตามระดับความมั่งคั่ง ของครัวเรือน แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ความไม่เท่าเทียมกันด้านการศึกษา : ระดับการศึกษาสูงสุด แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ความไม่เท่าเทียมกันด้านการศึกษา : ระดับการรู้หนังสือ แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ความไม่เท่าเทียมกันด้านอาชีพ : การมี งานทำ แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ความไม่เท่าเทียมกันด้านอาชีพ : ประเภท ของอาชีพ แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ความไม่เท่าเทียมกันด้านสถานภาพสมรส แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ภาคจนที่สุดจนปานกลางรวยรวยที่สุด กทม กลาง เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต้ รวม100.0 การกระจายร้อยละของประชากรจำแนกตาม ภาคและระดับความมั่งคั่งของครัวเรือน แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ภาวะอัตราเจริญพันธุ์รวมที่ไม่เท่าเทียมกัน แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ – 2549 การรอดชีพของคนรวยสูงกว่าคนจน

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University สรุป SPC ให้ประโยชน์มากมาย ข้อมูลสำคัญ สำหรับการฉายภาพประชากร ลักษณะของข้อมูลที่ใช้ประโยชน์ได้ เอกสารเผยแพร่โดย สสช. วิเคราะห์เอง ผู้ใช้ควรทำความเข้าใจกับข้อมูล SPC