วิกิ หรือ วิกี้ ลักษณะของเว็บไซต์แบบหนึ่งที่อนุญาต ให้ผู้ใช้ เพิ่มและแก้ไขเนื้อหาได้โดยง่าย ซึ่งบางครั้งไม่จำเป็นต้องการลงทะเบียน เพื่อแก้ไขวิกิจะแตกต่างจากระบบการจัดการเนื้อหาอื่นในส่วน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาษา JAVA.
Advertisements

แขนกลในงานอุตสาหกรรม Industrial Robotic Arm
COE เว็บปรับแต่งสำหรับศูนย์วิจัยและพัฒนา ระบบสุขภาพชุมชน Creation of Custom-built Web of CRDCH Research Center นายสุรศักดิ์ แสงเพชร รหัสนักศึกษา.
บริการข้อมูลออนไลน์จากศูนย์สารสนเทศนานาชาติ
วารสารออนไลน์ เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคผิวหนัง
นางสาวมณทิพย์ ธีรมหานนท์
รายละเอียดของการทำ Logbook
รายวิชา การเขียนเว็บไซต์
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
รายงานการวิจัย.
การเขียนผังงาน.
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
การบูรณาการคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต เพื่อการเรียนการสอน
หนังสือไร้กระดาษ.
Overview - Wikipedia Wikipedia คืออะไร? การใช้งาน Wikipedia
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
เรื่อง เว็บไซต์ IPhone Society
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
นำเสนอการใช้บริการของ
ภาษา SQL (Structured Query Language)
อาจารย์มณฑิรา พันธุ์อ้น
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
WIKI PEDIA วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
The automated web application testing (AWAT) system
ปฏิบัติการที่ 13 การใช้งาน Online Bookmarking
Creating Effective Web Pages
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
หนังสืออ้างอิง.
PHP คืออะไร หลายคนที่ทำเว็บไซต์ด้วย HTML หรือโปรแกรมช่วยสร้างเว็บไซต์ต่างๆ เช่น Dreamweaver แล้วอาจสงสัยว่าเมื่อทำ form สำหรับ รับค่าเช่น ชื่อ ที่อยู่
การสร้างเว็บเพจ HTML.
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
การทบทวนวรรณกรรมสำหรับนักวิจัย
เรื่อง ความรู้ไร้พรมแดน
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
การเขียนรายงานการวิจัย
Web Content Editor 2 อัตรา ลักษณะงาน
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
เอกสารประกอบรายงานการประชุมข้าราชการ สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่อุบลราชธานี ครั้งที่ 11/2556 เมื่อวันศุกร์ ที่ 29 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุม หน้าห้องฝ่ายปราบปราม.
๑ - ๒ พ. ค. ๕๗ น. ต. ณฤทธิ์ บุญทาเลิศ นายทหารปฏิบัติการ แผนกกรรมวิธีข้อมูล กบศ. ยศ. ทร.
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
ซอฟแวร์ที่น่าสนใจ จัดทำโดย นางสาวจุติภรณ์ ชาญเชี่ยว คณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 รหัสนิสิต
Web browser.
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (Social Software )
Blog คืออะไร Blog มาจากศัพท์คำว่า WeBlog ความหมายว่า บล็อก (Blog) Blog ก็คือ การบันทึก บทความของตนเอง ลงบน เว็บไซต์ โดยเนื้อหาของ blog จะครอบคลุมได้ทุกเรื่อง.
หนังสือที่ให้เรื่องราว ข้อเท็จจริง ต่าง ๆ มีการเรียงลำดับ อย่างเป็นระบบ และมี เครื่องมือช่วยค้นที่ดี ทำ ให้สะดวก และรวดเร็วในการค้น.
ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ ชื่อรหัสกลุ่ม นานวิษณุ มิครเอม B05 นายวิษณุ มิตรเอม รหัสนิสิต กลุ่ม B05 คณะวิทยาศาสตร์ เอกวัสดุศาตร์
Social Network.
SHARK COMPANY WEBBOARD เว็บบอร์ดความบันเทิง. สมาชิกในกลุ่ม 1. นายศรัณญ์ จันทร์หา นายนิติธร ดิษฐาพร นายภาณุพงศ์ แสนเตชะ
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
E-Portfolio.
Web.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
หลักการออกแบบเว็บไซต์
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
งานชิ้นที่..1 ชื่อ น. ส. สุภาลัย หมายถม กลาง. ความหมายและคุณค่าของการ ทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อ ความเจริญก้าวหน้าของทุกๆ.
Social Media.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิกิ หรือ วิกี้ ลักษณะของเว็บไซต์แบบหนึ่งที่อนุญาต ให้ผู้ใช้ เพิ่มและแก้ไขเนื้อหาได้โดยง่าย ซึ่งบางครั้งไม่จำเป็นต้องการลงทะเบียน เพื่อแก้ไขวิกิจะแตกต่างจากระบบการจัดการเนื้อหาอื่นในส่วน ของการโต้ตอบ ซึ่งเห็นได้จากระบบของกระดานสนทนาออนไลน์

วิกิพีเดีย คือ สารานุกรมที่ร่วมกันสร้างขึ้นโดยผู้อ่าน มีคนหลายๆ คนร่วมกันปรับปรุงวิกิพีเดียอย่างสม่ำเสมอ แม้แต่คุณก็แก้ได้ โดยบทความจะสมบูรณ์ยิ่งขึ้นทุกๆ การแก้ไข

ประวัติ วิกิตัวแรกชื่อว่า WikiWikiWebสร้างโดย วอร์ด คันนิงแฮม โดยได้เขียนโปรแกรมขึ้นด้วยภาษาเพิร์ลและติดตั้งลงที่เว็บ c2.com โดยชื่อของ วิกิ นั้นมาจากชื่อรถประจำทางสาย "วิกิ วิกิ" (Wiki Wiki) ดังนั้นคำว่า วิกิวิกิ หมายถึง เร็วเร็ว นั่นเอง

ลักษณะสำคัญ เน้นการทำงานแบบง่าย ซึ่งผู้เขียนสามารถสร้างเนื้อหาบนเว็บได้โดยไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในภาษาเอชทีเอ็มแอล เทคโนโลยีวิกิคือความง่ายในการสร้างและแก้ไขหน้าเว็บ โดยไม่จำเป็นต้องผ่านการตรวจสอบหรือยืนยันจากเจ้าของเว็บนั้น

[แก้] หน้าวิกิและการแก้ไข รูปแบบรหัสต้นฉบับบางครั้งก็รู้จักกันในชื่อ "ข้อความวิกิ" ซึ่งประกอบไปด้วยข้อความธรรมดารวมกับภาษามาร์กอัปอย่างง่าย การออกแบบข้อความวิกิมีเหตุผลมากจาก HTML ในการใช้งานวิกิมีความสอดคล้องกัน เนื่องจากผู้ใช้แก้ไขรูปแบบได้อย่างจำกัด พร้อมทั้งความปลอดภัยที่เพิ่มขึ้น ในการนำวิกิไปใช้หลายระบบแสดงให้เห็นไฮเปอร์ลิงก์ที่ใช้งานได้เสมอ

คำสั่งในมีเดียวิกิ คำสั่งเอชทีเอ็มแอล ผลลัพธ์ที่แสดงออกมา '''เพลงพระราชนิพนธ์แสงเทียน''' หรือ ''Candlelight Blues'' เป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรก ทรงพระราชนิพนธ์ในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ครั้งดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะ[[บลูส์]] <p><b>เพลงพระราชนิพนธ์แสงเทียน</b> หรือ <i>Candlelight Blues</i> เป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรก ทรงพระราชนิพนธ์ในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ครั้งดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะ <a href="http://th.wikipedia.org/wiki/บลูส์> บลูส์</a> เพลงพระราชนิพนธ์แสงเทียน หรือ Candlelight Blues เป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรก ทรงพระราชนิพนธ์ในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ครั้งดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะบลูส์ ตัวอย่างเปรียบเทียบคำสั่ง

การควบคุมความเปลี่ยนแปลง โดยทั่วไปแล้ววิกิออกมาบนปรัชญาที่ว่าทำการแก้ไขสิ่งที่ผิดให้ง่ายมากกว่าทำให้การสร้างสรรค์ยาก สิ่งที่โดดเด่นที่สุดของวิกิทุกตัวก็คือหน้า "ปรับปรุงล่าสุด" ความสามารถอื่นของวิกิส่วนมากคือ "ประวัติการแก้ไขปรับปรุง" ที่เน้นให้เห็นความเปลี่ยนแปลงระหว่างการแก้ไขปรับปรุง 2 ครั้ง ด้วยการใช้ประวัติการแก้ไขปรับปรุง

การพัฒนาการ การเพิ่มปุ่มช่วยจดจำภาษามาร์กอัป เช่น ปุ่มเพิ่มรูปที่ช่วยเพิ่มข้อความในภาษามาร์กอัปแต่ไม่ได้แสดงผลลัพธ์ให้เห็นในทันทีที่พบได้ในมีเดียวิกิ สามารถอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ได้โดยไม่ต้องเพิ่มโปรแกรมพิเศษมากเท่าการทำให้แก้ไขหน้าเว็บแบบ WYSIWYG อย่างไรก็ตามสิ่งที่สำคัญที่สุดคือการรักษาฐานผู้ใช้ขนาดใหญ่ทั้งที่เป็น ผู้อ่านและผู้เขียนไว้ โดยทำให้หน้าวิกิใช้งานได้ทั่วถึงที่สุด

โครงการต่างๆ ของ วิกิ วิกิพจนานุกรม- เป็นเว็บไซต์เกี่ยวกับพจนานุกรมและอรรถาภิธาน วิกิซอร์ซ- เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมแหล่งข้อมูล ในทุกๆ ภาษา คอมมอนส์- เป็นเว็บไซต์ที่เปรียบเสมือนเป็นแหล่งรวบรวมสื่อ วิกิตำรา- เป็นที่รวบรวมเกี่ยวกับตำราและเครื่องมือ วิกิข่าว- เป็นที่รวบรวมแหล่งข่าวเนื้อหาเสรี เมต้าวิกิ- เป็นศูนย์กลางโครงการวิกิมีเดีย วิกิคำคม- เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมคำคม สุภาษิต วิกิสปีซีส์- คือสารบบอนุกรมวิธาน