WIKI PEDIA วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

การเขียนบทความ.
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
วารสารออนไลน์ เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคผิวหนัง
นางสาวมณทิพย์ ธีรมหานนท์
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
พัฒนาเนื้อหาเว็บเนคเทค
Top 5 Semantic Search Engines
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
หนังสือไร้กระดาษ.
Overview - Wikipedia Wikipedia คืออะไร? การใช้งาน Wikipedia
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
1. เข้าเว็บ scopus ( ตาม web address ของแต่ละมหาวิทยาลัยที่บอกรับเป็นสมาชิก )
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
วิกิ หรือ วิกี้ ลักษณะของเว็บไซต์แบบหนึ่งที่อนุญาต ให้ผู้ใช้ เพิ่มและแก้ไขเนื้อหาได้โดยง่าย ซึ่งบางครั้งไม่จำเป็นต้องการลงทะเบียน เพื่อแก้ไขวิกิจะแตกต่างจากระบบการจัดการเนื้อหาอื่นในส่วน.
เขียนบทความวิจัยส่งอย่างไร
คู่มือการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ Science Online
เขียนโดย David Meerman Scott.
นำเสนอหนังสือวิชาการ
ประสบการณ์การฝึกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา สื่อมวลชน สายการเมือง
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
จากกระดานชนวนสู่กระดานอิเล็กทรอนิกส์
การทบทวนวรรณกรรมสำหรับนักวิจัย
Social Media for Education การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
ฐานข้อมูล Science Direct
วช.เพิ่มมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญาสู่เชิงพาณิชย์
Assignements 4 ICT in KM (KM703) Knowledge Management Program
เครื่องมือทางเทคโนโลยีสนับสนุนการจัดการความรู้
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
๑ - ๒ พ. ค. ๕๗ น. ต. ณฤทธิ์ บุญทาเลิศ นายทหารปฏิบัติการ แผนกกรรมวิธีข้อมูล กบศ. ยศ. ทร.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
Search Engine จัดทำโดย น. ส. กรรณิดา เดิมบางปิด เลขที่ 1 น. ส. เกศินี ศรีอินทร์สุทธิ์ เลขที่ 4 น. ส. เบญจวรรณ แซ่อั๊ง เลขที่ 51 1.
MDCONSULT โดย สุวรรณ สัมฤทธิ์ งานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด งานห้องสมุดกรมการแพทย์ สำนัก พัฒนาวิชาการแพทย์ ปรับปรุงล่าสุด 28/04/51.
โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย... จิรวัฒน์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. ๒๕๕๐.
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
เว็บเพจ (Web Page).
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (Social Software )
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
Social Network.
SHARK COMPANY WEBBOARD เว็บบอร์ดความบันเทิง. สมาชิกในกลุ่ม 1. นายศรัณญ์ จันทร์หา นายนิติธร ดิษฐาพร นายภาณุพงศ์ แสนเตชะ
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

WIKI PEDIA วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

สมาชิกในกลุ่ม นางสาวนวศร คชสิทธิ์ 49523487 นางสาวนวศร คชสิทธิ์ 49523487 นาวสาวพิมพ์มาดา มัฌชิโม 49523715 นาวสาวพัชรินทร์ จันทร์ทอง 49523661 นางสาวมยุเรศ โสภิพงค์ 49523821

วิกิพีเดีย (Wikipedia) คือ สารานุกรม เสรีหลายภาษาบน อินเทอร์เน็ต ที่ทุกคนสามารถอ่านและปรับปรุงเพิ่มเติมเนื้อหา ซึ่งทำให้วิกิพีเดียกลายเป็นสารานุกรมที่ได้รับการแก้ไข รวบรวมและดูแลรักษาจากอาสาสมัคร หลายแสนคนทั่วโลก ผ่านซอฟต์แวร์ชื่อมีเดียวิกิ

วิกิพีเดียเริ่มต้นเมื่อ 15 มกราคม พ. ศ วิกิพีเดียเริ่มต้นเมื่อ 15 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยเริ่มต้นโครงการจากชื่อสารานุกรม นูพีเดีย ที่เขียนโดย ผู้เชี่ยวชาญในหลายสาขา และในปัจจุบันดำเนินงานโดย มูลนิธิวิกิมีเดีย ซึ่งก่อตั้งโดย จิมมี เวลส์ และ แลร์รี แซงเจอร์ ในปัจจุบัน วิกิพีเดียมีทั้งหมด 250 ภาษา รวมทุกภาษามีบทความมากกว่า 6,000,000 บทความ โดยในทั้งหมดมี 12 ภาษาที่มีบทความมากกว่า 100,000 บทความ และปัจจุบัน วิกิพีเดียไทย มีทั้งหมด 18,583 บทความ

ลักษณะสารานุกรม สารานุกรมวิกิพีเดียได้รับการยอมรับจากนักวิชาการและสื่อมวลชน เนื่องจากเนื้อหาเปิดเสรีให้สามารถนำไปใช้ได้ รวมถึงเปิดเสรีที่ให้ทุกคนแก้ไข รวมถึงนโยบายมุมมองที่เป็นกลางจากทุกฝ่ายที่เขียนในสารานุกรม อย่างไรก็ตามการนำไปใช้อ้างอิงในเอกสารทางวิชาการยังคงเป็นข้อถกเถียงเนื่องจากการเปิดโอกาสให้ทุกคนแก้ไข ซึ่งง่ายต่อการปรับเปลี่ยนข้อมูลทุกเมื่อ ผู้ประสงค์ร้ายที่มือบอนเข้าไปทำลายข้อมูลหรือสิ่งดีๆ ในวิกิพีเดีย ยังเป็นปัญหาที่เกิดบ่อย แม้ว่าส่วนใหญ่ผู้ก่อการร้ายเหล่านั้นจะถูกจับได้ และมีการเข้าไปแก้ไขเนื้อหาเพิ่มเติมที่ไม่ถูกต้องเหล่านั้นอย่าง

รวดเร็ว โดยผู้ใช้วิกิพีเดียที่ทำหน้าที่ตรวจสอบติดตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นล่าสุด ความน่าเชื่อถือของวิกิพีเดียได้ถูกทำการทดสอบ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2548 ได้มีทีมนักวิจัยทดสอบความถูกต้องของวิกิพีเดียฉบับภาษาอังกฤษ เปรียบเทียบกับสารานุกรมบริเตนนิกา สารานุกรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยนำเรื่องราวเกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์ไปทดสอบ ผลลัพธ์ที่ออกมาสรุปว่าความถูกต้องใกล้เคียงกัน โดยมีการผิดพลาดทางข้อมูลและการใช้ภาษาใกล้เคียงกัน..

การอนุญาตให้ใช้เนื้อหาแบบเสรี ข้อความทั้งหมดในวิกิพีเดีย ตลอดจนภาพและเนื้อหาประเภทอื่น โดยส่วนใหญ่ จะอยู่ภายใต้ลิขสิทธิ์GNU Free Documentation License หรือ GFDL โดยผู้สมทบงานแต่ละคนจะยังคงมีสิทธิ์ในงานที่ตนเองสร้างสรรค์ขึ้น ในขณะที่จะคุ้มครองเพื่อให้แน่ใจได้ว่าเนื้อหาของวิกิพีเดียจะยังคงสามารถกระจายและผลิตซ้ำได้อย่างเสรี

เนื้อหาข้อมูลต้นฉบับที่เขียนให้แก่วิกิพีเดียทั้งหมด ถือว่าเป็นเนื้อหาเสรี ภายใต้ลิขสิทธิ์GFDL โดยคำว่า "เสรี" ในวิกิพีเดียรวมไปถึง เสรีในการนำไปใช้ และเสรีในการเขียนและแก้ไขข้อมูล ซึ่งทุกคนมีสิทธิในการเขียนเท่าเทียมกัน รวมไปถึงเผยแพร่สืบต่อกันไปได้อย่างเสรี โดยมีหลายเว็บไซต์เช่น Answers.com ทำหน้าที่เป็นมิเรอร์ไซต์ ที่แสดงข้อมูลของวิกิพีเดียในเว็บไซต์ของตัวเอง

อคติและการโอนเอียงของข้อมูล อคติในระบบของวิกิพีเดีย เป็นอีกหัวข้อหนึ่งที่มีการวิพากษ์วิจารณ์กันมาก โดยเฉพาะในประเด็นที่ว่าเรื่องราวบางเรื่องมีข้อมูลลงลึกมากกว่าเรื่องอื่น ๆ ซึ่งข้อวิพากษ์วิจารณ์นี้ แม้กระทั่งผู้เสนอโครงการวิกิพีเดียเองก็ยอมรับ

โครงการอื่น นอกจากสารานุกรมแล้ว วิกิมีเดียยังมีฐานข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนวิทยาการความรู้และเทคโนโลยีในรูปแบบอื่น ๆ อีกมากมายรวมอยู่ด้วยทั้งในลักษณะของ จดหมายเหตุ อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ วารสาร เฉพาะด้าน รวมทั้งสถานการณ์ข่าว หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน องค์กรวิกิมีเดียยังมีโครงการอื่น ภายใต้ชื่อใกล้เคียงกันดังนี้ วิกิพีเดียดำเนินการโดยมูลนิธิวิกิมีเดีย ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร นอกจากวิกิพีเดียแล้ว วิกิมีเดียยังดำเนินการโครงการหลายภาษาและเนื้อหาเสรีอีกหลายโครงการด้วยกัน ได้แก่

The end thank you